Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปะทะ , then ปท, ปะทะ, ปาทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปะทะ, 54 found, display 1-50
  1. ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
  2. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  3. ปทปาริปูรี : อิต. คำที่ยังบทให้เต็ม, คำเสริมบท, ได้แก่ปทปูรณะ
  4. ปทจร : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยเท้า, คนเดินเท้า, การเที่ยวไปด้วยเท้า, การไปด้วยเท้า, บทจร. ไทยใช้ บทจร เป็นกิริยาว่าเดินไป.
  5. ปทจาริกา : อิต. หญิงเดินรับใช้, หญิงรับใช้
  6. ปทเจติย : (นปุ.) พระเจดีย์คือรอยแห่งพระบาท ( รอยเท้าของพระพุทธเจ้า ) .
  7. ปทชาต : นป. รอยเท้า
  8. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  9. ปทภาชน : นป. บทภาชน์, บทไขความ, บทอธิบายความ
  10. ปทภาชนิย : นป. บทภาชนีย์, บทที่จะต้องอธิบาย, บทตั้ง
  11. ปทภาชนีย : (นปุ.) ข้อความอัน...จำแนกไว้, บทภาชนีย์ คือบทที่ตั้งไว้เพื่อไขความบทที่ ต้องอธิบาย
  12. ปทภาณ : ป. การกล่าวบท, การขานด้วยบท, การสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  13. ปทภาณก : ค. ผู้กล่าวหรือสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  14. ปทสนฺธิ : อิต. การต่อบท, การเชื่อมคำ
  15. ปทสิลา : อิต. หินที่ใช้วางไว้บนพื้นดินสำหรับก้าวเดิน, หินปูพื้น
  16. ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
  17. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  18. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  19. ชานปท : (วิ.) ผู้อยู่ในชนบท วิ. ชนปเท วส- นฺตีติ ชานปทา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  20. ชานปท, ชานปทิก : ค. ชาวชนบท, ชาวบ้านนอก
  21. นามปท : นป. บทนามนาม
  22. นิพฺพานปท : นป. บทคือพระนิพพาน
  23. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  24. พหุปท, พหุปฺปท : ค. มีเท้ามาก หมายถึงตะขาบ; มีการให้มาก
  25. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  26. อนุปท : ก. วิ. โดยลำดับบท, ตามรอยเท้า, สะกดรอย
  27. อมตปท : (ปุ. นปุ.) ทางแห่งความไม่ตาย, ทางแห่งอมตะ, ทางแห่งพระนิพพาน.
  28. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  29. ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
  30. ปทาติ : (ปุ.) ทหาร เดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ. วิ. ปเทหิ อตตีติ ปทาติ. ปท ปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ.
  31. สมุปฺปาท : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้นด้วยดี, การเกิดสมบูรณ์, ความเกิดขึ้นพร้อม, ฯลฯ. สํ อุ ปุพฺโพ, ปท. คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค.
  32. กีว กีวตก : (อัพ. นิบาต) เพียงไร, เท่าไร. บอกปริจเฉท ปุจฉกะ และปทปูรณะ. กึ ศัพท์ รีว รีวตกํ ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์.
  33. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  34. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  35. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  36. นิปตฺติ : (อิต.) การสำเร็จ, ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  37. นิปฺผชฺช : (นปุ.) ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺย แปลง ป เป็น ผ ทฺย เป็น ชฺช ซ้อน ปฺ.
  38. นิพตฺตน นิพฺพตฺตน : (นปุ.) การเกิด, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ, ปสฺส โพ, ทสฺส โต, ทฺวิตฺตํ. วตฺต วตฺตเน วา.
  39. นิพตฺติ นิพฺพตฺติ : (อิต.) แปลเหมือน นิพฺพตฺตน. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วตฺตฺ วตฺตเน วา, อิ.
  40. ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
  41. ปตฺเตยฺย : (วิ.) อัน...ควรถึง วิ. ปาตพฺพนฺติ ปตฺเตยฺยํ. ปทฺ คติยํ, เตยฺโย.
  42. ปทค : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหาร ราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทโค. กฺวิ ปัจ.
  43. ปทน : (นปุ.) การไป, การถึง, การดำเนินไป, ความเป็นไป. ปทฺ คติยํ, ยุ.
  44. ปทวี : (อิต.) ทาง, หนทาง. วิ. ปทติ เอตฺถาติ ปทวี. ปทฺ คติยํ, อโว, อิตถิยํ อี. เป็น ปทวิ บ้าง. ส. ปทวิ.
  45. พฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความเบียดเบียน ความพยาบาท. วิ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺยฺ แปลง อิ เป็น ย ทฺย เป็น ชฺฌ. เป็น พฺยาปชฺฌา พฺยาปชฺชา บ้าง.
  46. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  47. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  48. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  49. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  50. หเว : (อัพ. นิบาต) จริง, แท้, แน่แท้, โดยแท้. เอกัง สัตถวาจา. แล เป็น ปทปูรณะ, เว้ย, โว้ย.
  51. [1-50] | 51-54

(0.0149 sec)