Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ป่าวประกาศ, ประกาศ, ป่าว , then บ่าว, ปรกาศ, ประกาศ, ปาว, ป่าว, ปาวปรกาศ, ป่าวประกาศ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ป่าวประกาศ, 113 found, display 1-50
  1. ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
  2. สงฺโฆเสติ : ก. ป่าวร้อง, ประกาศ
  3. ฆวน : (นปุ.) การประกาศ, การป่าวร้อง. ฆุ สทฺเท, ยุ.
  4. ฆาวก : (ปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คน ผู้โฆษณา. ฆุ สทฺเท, ณฺวุ.
  5. ฆุฏฐ : ค. โฆษณาแล้ว, ประกาศแล้ว, ป่าวร้องแล้ว
  6. โฆสก : (นปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คนโฆษณา, คนแถลงข่าว. ส. โฆษก.
  7. โฆสาเปติ : ก. ให้ประกาศ, ให้ป่าวร้อง
  8. โฆสิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, อันเขาป่าวร้องแล้ว
  9. เภริจารณ : นป. การตีกลองร้องป่าวประกาศ
  10. สงฺฆุฏฺฐ : กิต. ป่าวร้องแล้ว, ประกาศแล้ว
  11. อภิคุฏฺฐ : กิต. ร้องแล้ว, ป่าวประกาศแล้ว
  12. ญาเปติ : ก. ให้รู้, อธิบาย, ประกาศ
  13. ถุนาติ : ก. ทอดถอน, คร่ำครวญ; ประกาศ, กล่างถึง, ชมเชย
  14. ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
  15. ปญฺญายติ : ก. ปรากฏ, ประกาศ
  16. ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
  17. ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
  18. ปยิรุทาหรติ : ก. เปล่ง, ประกาศ
  19. วฺยาขฺยาติ : ก. กล่าว, ประกาศ
  20. สาเวติ : ก. ให้ฟัง, ประกาศ
  21. อกฺขติ : ก. กล่าว, บอก, ประกาศ
  22. อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
  23. อภิเวเทติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ประกาศ
  24. อาโรเจติ, - จยติ : ก. บอก, ประกาศ, โฆษณา
  25. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  26. อุคฺโฆเสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ทำเสียงเกรียวกราว
  27. อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  28. อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  29. อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
  30. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  31. ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.
  32. กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
  33. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  34. กิตฺติโฆส : ป. การประกาศชื่อเสียง, การประกาศเกียรติคุณ
  35. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  36. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  37. ฆุ โฆ : (ปุ.) การประกาศ, ฯลฯ. ฆุ สทฺเท, อ, โณ.
  38. โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  39. โฆสนา : (อิต.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  40. โฆสา : (อิต.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงป่าวร้อง, ความกึกก้อง. ฆุสนํ โฆโส. ฆุสฺ สทฺเท, โณ.
  41. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  42. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  43. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  44. ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง เสือดาว (ผู้ประกาศ ความยิ่งใหญ่ในป่า). ทีปฺ ปกาสเน, อิ.
  45. ธมฺมโฆสก : ป. ธรรมโฆสก, ผู้ประกาศธรรม
  46. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  47. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  48. นิเวทก : ค. ผู้ประกาศ, ผู้ให้ข่าว
  49. นิเวทน : นป. การประกาศ, การให้ข่าว
  50. นิเวเทติ : ก. ประกาศให้ทราบ, แจ้งให้ทราบ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-113

(0.0701 sec)