Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พรหมวิหาร, วิหาร, พรหม , then พรหม, พฺรหฺม, พรหมวหาร, พรหมวิหาร, พฺรหฺมวิหาร, พรหมา, พิหาร, วหาร, วิหาร, วิหาระ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พรหมวิหาร, 119 found, display 1-50
  1. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  2. วิหาร : ป. ที่อยู่, วิหาร
  3. พฺรหฺม : (วิ.) เลิศ. ประเสริฐ, ประเสริฐสุด. พฺรหฺ วุทฺธิยํ, โม.
  4. กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
  5. เชตวนมหาวิหาร : (ปุ.) วิหารใหญ่ชื่อเชตวัน, เชตวันมหาวิหาร.
  6. หิรญฺญคพฺภ : (ปุ.) หิรัญญคัพภะ ชื่อของพรหมชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, พรหม, พระพรหม. วิ หิรญฺญํ สุวณฺณมยํ อณฺฑํ, หิรญฺญ อสฺส คพฺโภ ภูโตติ หิรญฺญคพฺโภ. พราหมณ์ ก็แปล.
  7. อนฺโตวิหาร : ป. ภายในวิหาร
  8. อรญฺญวิหาร : ป. วิหารหรือกระท่อมที่อยู่ในป่า
  9. อริยวิหาร : ป. อริยวิหาร, การอยู่อันประเสริฐ, การอยู่ดี, การปฏิบัติดี
  10. กรุณาวิหาร : ค. มีจิตอยู่ด้วยความกรุณา, จิตประกอบด้วยความเอ็นดู
  11. ชงฺฆวิหาร : ป. การเดิน
  12. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  13. ทิวาวิหาร : ป. การอยู่สำราญในเวลากลางวัน
  14. ปุราณวิหาร : (ปุ.) วัดเก่า.
  15. พฺรหมฺ : (ปุ.) พราหมณ์ วิ. พฺรหมฺโน อปจฺจํ พฺรหฺมา.
  16. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  17. โลเกส : ป. พรหม
  18. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  19. พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  20. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  21. พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
  22. พฺรหฺมจินฺติต : ค. อันพรหมคิดแล้ว
  23. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  24. พฺรหฺมทายาท : ป. ทายาทแห่งพรหม, ผู้รับมรดกอันประเสริฐ
  25. พฺรหฺมเทยฺย : นป. พรหมเทยย์, ของที่ได้รับพระราชทานจากพระราชา
  26. พฺรหฺมเทฺยฺย : (นปุ.) รางวัลอันบุคคลผู้ประเสริฐพึงให้, รางวัลอันบุคคลผู้เพียงดังพรหมพึงให้, รางวัลอันประเสริฐ.
  27. พฺรหฺมเทวตา : อิต. เทวดาในสวรรค์ชั้นพรหม
  28. พฺรหฺมปรายน : ค. มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีเหตุอันจะต้องเข้าถึงความเป็นพรหม
  29. พฺรหฺมปริสา : อิต. บริษัทแห่งพรหม, บริวารแห่งพรหม, การประชุมแห่งพวกพรหมในพรหมโลก
  30. พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
  31. พฺรหฺมปุโรหิต : (ปุ.) พรหมปุโรหิต ชื่อ รูปพรหมชั้นที่ ๒ ชื่อพรหมผู้เป็นปุโรหิตของมหาพรหม.
  32. พฺรหฺมพนฺธุ : (ปุ.) ชนผู้เป็นพวกพ้องแห่งพรหม, พราหมณ์.
  33. พฺรหฺมยาน : นป. พรหมยาน, ยานอันประเสริฐ, ทางแห่งความดีอันประเสริฐ
  34. พฺรหฺมยานิย : ค. ซึ่งนำไปสู่ความเป็นพรหม
  35. พฺรหฺมโลก : (ปุ.) โลกเป็นที่อยู่ของพรหม, พรหมโลก.
  36. พฺรหฺมวิมาน : นป. วิมานแห่งพรหม
  37. พฺรหฺมสม : ค. เสมอด้วยพรหม, คล้ายพรหม
  38. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  39. พาหุช : (ปุ.) กษัตริย์. พฺรหฺมพาหุโต ชาตตฺตา พาหุโช (เกิดจากแขนพระพรหม).
  40. มหาพฺรหฺม : (ปุ.) มหาพรหม ชื่อพรหมชั้นที่ ๓ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อภพเป็นที่เกิดที่อยู่ของพรหมชั้นที่ ๓ นั้น (มหาพรหม).
  41. ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ; ๒. นป. หัว, ผม; น้ำ; ๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
  42. กปฺปิยกุฏิ : อิต. กัปปิยกุฏี, กุฎีนอกวิหารใช้เป็นที่เก็บของที่ถูกต้องตามพุทธานุญาต
  43. กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
  44. กโมลิ กโมฬิ : (ปุ. อิต.) โมลีแห่งหมู่พรหม, โมฬีแห่งหมู่พรหม. วิ. เกสํ พฺรหฺมานํ โมลิ โมฬิ วา กโมลิ กโมฬิ วา. เป็น กโมลี บ้าง.
  45. กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
  46. ฆนเสลปพฺพต : (ปุ.) ภูเขาเป็นวิหารแห่งหิน เป็นแท่ง, ภูเขาเป็นแท่งทึบ.
  47. ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.
  48. เชตวน : (ปุ.) พระวิหารชื่อเชตวัน, พระวิหาร ชื่อว่า เชตวัน.
  49. ฌสางฺค : (ปุ.) ฌสางคะ ชื่อของพระอนิรุทธ์ ลูก ของพระพรหม.
  50. เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-119

(0.0605 sec)