Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พระพุทธเจ้า , then พรพทธจา, พระพุทธเจ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พระพุทธเจ้า, 163 found, display 1-50
  1. ชินวร : (ปุ.) พระพุทธผู้ประเสริฐ, พระพุทธเจ้า
  2. ทิปทินฺท : ป. พระผู้เป็นจอมแห่งสัตว์สองเท้า, พระพุทธเจ้า
  3. ธมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า
  4. นรวีร : ป. คนกล้า, พระพุทธเจ้า
  5. มารชิ : ป. ผู้ชนะมาร, พระพุทธเจ้า
  6. อนธวิร : ป. ผู้ประเสริฐยิ่ง, พระพุทธเจ้า
  7. ภวนฺตุ : (ปุ.) ปูชารหบุคคล, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า (ชิน).
  8. โกนาคมน : (ปุ.) พระโกนาคมน์ พระนามของ พระพุทธเจ้า องค์ที่ ๒ในพระเจ้า ๕ พระองค์.
  9. จกฺขุภูต : (วิ.) (พระพุทธเจ้า) ทรงเป็นเพียงดัง จักษุเป็นแล้วเพราะบรรลุพระปรมัตถธรรม วิ. จกฺขุ อิว ภูโต อยํ ปรมตฺถทสฺสนโตติ จกฺขุภูโต เป็นปฐมอุปมานบุพพบทพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  10. ชิตินฺทฺริย : (วิ.) พระชินะ พระชิน พระนาม ของพระพุทธเจ้าพระนาม ๑ ใน ๓๒ พระ นาม, พระพุทธเจ้า (ผู้ชนะ). วิ. ชินาตีติ ชิโน. ปญฺจ มาเร อชินีติ วา ชิโน. ปาปเก อกุสเล ธมฺเม มาราทโย จ อชินีติ วา ชิโน. ชิ ชเย, อิโน. ส. ชิน.
  11. ชิเนนฺท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (เป็นจอมแห่งความชนะ).
  12. ถูปารหปุคคล : (ปุ.) บุคคลผู้ควรแก่สถูป, บุคคล ที่ควรนำอัฐิบรรจุสถูป. บุคคลที่ ควรนำอัฐิมาบรรจุสถูป มี ๔ ประเภท คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ พระอรหันตสาวก ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑.
  13. มุนินฺท : (นปุ.) นักปราชญ์ผู้เป็นเจ้า (พระพุทธเจ้า), พระมุนินท์ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม.
  14. มุนิมุนิ : (ปุ.) นักปราชญ์แห่งนักปราชญ์, จอมปราชญ์ (พระพุทธเจ้า).
  15. โลกครุ : ป. พระพุทธเจ้า
  16. สกฺยมุนิ : ป. พระพุทธเจ้า
  17. อมตนฺทท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (ทรงประทานอมต).
  18. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  19. จกฺขุมนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีจักษุ (มีจักษุ ๕) เป็น พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม, พระพุทธเจ้า.
  20. ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
  21. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  22. มุนิ : (ปุ.) พระมุนี พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. พระพุทธเจ้า. วิ. สพฺพธมฺเม มุนตีติ มุนิ. มุนฺ ญาเณ, อิ.
  23. ยตินฺท : (ปุ.) พระจอมสงฆ์, พระพุทธเจ้า.
  24. สมฺพุทธ : (ปุ.) พระสัมพุทธะ พระนาม พระพุทธเจ้า.
  25. พุทฺธงกุร พุทฺธางฺกุร : (ปุ.) หน่อของพุทธะ, หน่อของ พระพุทธเจ้า, พุทธังกูร พุทธารกูร ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า.
  26. เกตุมาลา : (อิต.) พระเกตุมาลา ชื่อ รัศมีมีซึ่ง เปล่งอยู่เหนือพระเศียรของพระพุทธเจ้า.
  27. เกสธาตุ : อิต. ธาตุคือพระเกศ, พระเกศธาตุ (ของพระพุทธเจ้า)
  28. คณี : (ปุ.) คณีใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า แปลว่าทรงมีคณะคือหมู่แห่งพระสงฆ์.
  29. คนฺธกุฏิ : อิต. คันธกุฎี, กระท่อมที่อยู่อาศัยของบรรพชิต (โดยเฉพาะเป็นที่ประทับอยู่อาศัยของพระพุทธเจ้า)
  30. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  31. คิริเมขล : (ปุ.) คิริเมขละ ชื่อช้างที่พญามารขี่ มาผจญพระพุทธเจ้า.
  32. จุฬมณิ จุฬามณี : (ปุ.) จุฬามณี ชื่อพระธาตุเจดีย์ ที่บรรจุพระเกศธาตุของพระพุทธเจ้าซึ่ง ประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ส. จุฑามณี.
  33. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  34. ชินจกฺก : นป. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  35. ชินปุตฺต : ป. ชินบุตร, สาวกของพระพุทธเจ้า
  36. ชินปุตฺต ชิโนรส : (ปุ.) บุตรแห่งพระชิน, บุตร แห่งพระพุทธเจ้า, พระสงฆ์.
  37. ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  38. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  39. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  40. ติสรณคมนุปสฺปทา ติสรณคมนูปสมฺปทา : (อิต.)การอุปสมบทด้วยการถึงสรณะสาม, ติสรณคมนุปสัมปทา ติสรณคมนูปสัมปทา คือการอุปสมบทด้วยการปกิญญาณตน ถึงไตรสรณคมน์ เป็นชื่อของวิธีอุปสมบท อย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง เมื่อพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาต วิธีอุปสมบทอย่างที่ ๓ แล้ว ทรงอนุญาตวิธีอย่างที่ ๒ นี้เป็นวิธี บรรพชาการบวชเป็นสามเณร.
  41. เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
  42. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  43. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  44. ทาฐาธาตุ : อิต. พระเขี้ยวแก้ว (ของพระพุทธเจ้า)
  45. ทายชฺชอุปสมฺปทา : อิต. การอุปสมบทที่พระพุทธเจ้าทรงประทานด้วยพระองค์เอง (แก่โสปากสามเณรและสุมนสามเณรผู้มีอายุเพียง ๗ ขวบ)
  46. เทวเทว : (ปุ.) เทพผู้ยิ่งกว่าเทพ. พระเทวเทพ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. เทวานํ อติเทโว เทโว. เทวาน มธิโก วา เทโว เทวเทโว.
  47. เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
  48. เทวิสิ : ป. เทพฤษี หมายถึงพระพุทธเจ้า
  49. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  50. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-163

(0.0266 sec)