Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พล , then พล, วล .

Eng-Thai Lexitron Dict : พล, more than 7 found, display 1-7
  1. move up : (PHRV) ; เคลื่อน (พล) เข้ามาใกล้ (ทางทหาร)
  2. major general : (N) ; พลตรี (ยศ) ; Related:ตำแหน่งพลตรี ; Syn:air officer, general of the air force
  3. Air Chief Marshal : (N) ; พลอากาศเอก
  4. lieutenant general : (N) ; พลโท
  5. majority : (N) ; พลตรี (ยศ)
  6. pointer : (N) ; พลปืนทำหน้าที่เล็งปืน
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : พล, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : พล, more than 7 found, display 1-7
  1. พล : (N) ; forces ; Related:troops, army ; Syn:ทหาร, กำลังพล, กำลัง, กองพล ; Samp:ผู้บัญชาการรบได้วางแผนเพื่อลำเลียงพลของฝ่ายวอชิงตันในการทำสงครามที่ยอร์คทาวน์ ; Unit:นาย
  2. พล.ต. : (N) ; major general ; Related:Maj. Gen. ; Syn:พลตรี
  3. พล.ต.ต. : (N) ; police major general ; Related:Pol.Maj.Gen. ; Syn:พลตำรวจตรี
  4. พล.ต.ท. : (N) ; police lieutenant general ; Related:Pol.Lt.Gen. ; Syn:พลตำรวจโท
  5. พล.ต.อ. : (N) ; police general ; Related:Pol.Gen. ; Syn:พลตำรวจเอก
  6. พล.ท. : (N) ; lieutenant general ; Related:Lt.Gen. ; Syn:พลโท
  7. พล.ร.ต. : (N) ; Rear Admiral ; Related:R.A., R.Adm., Rear Adm., Radm ; Syn:พลเรือตรี
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : พล, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : พล, more than 5 found, display 1-5
  1. พล, พล : [พน, พนละ, พะละ] น. กําลัง, มักใช้ประกอบคําอื่น เช่น พระทศพล อันเป็นพระนามพระพุทธเจ้า หมายความว่า ทรงมีพระญาณอันเป็น กำลัง ๑๐ ประการ มี ฐานาฐานญาณ คือ ปรีชาหยั่งรู้ฐานะและสิ่งที่มิใช่ ฐานะเป็นต้น; ทหาร เช่น กองพล ตรวจพล ยกพลขึ้นบก; สามัญ, ธรรมดา ๆ, พื้น ๆ, เช่น ของพล ๆ; ยศทหารและตํารวจสัญญาบัตร รองจากจอมพล (เดิมใช้ว่า นายพล). (ป., ส.).
  2. พลขันธ์ : [พนละ] น. กองทัพ.
  3. พลขับ : [พนละ] น. ทหารที่ทำหน้าที่ขับยานพาหนะ.
  4. พลตระเวน : [พน] (โบ) น. พลตํารวจพระนครบาลผู้ตรวจตรา เหตุการณ์.
  5. พลรบ : [พนละ] น. ทหารที่ทำหน้าที่ฝ่ายรบ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : พล, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : พล, 10 found, display 1-10
  1. ทสพลญาณ : พระญาณเป็นกำลังของพระพุทธเจ้า ๑๐ ประการ เรียกตามบาลีว่า ตถาคตพลญาณ (ญาณเป็นกำลังของพระตถาคต) ๑๐ คือ ๑.ฐานาฐานญาณ ๒.กรรมวิปากญาณ ๓.สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ ๔.นานาธาตุญาณ ๕.นานาธิมุตติกญาณ ๖.อินทริยปโรปริยัตตญาณ ๗.ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ ๙.จุตูปปาตญาณ ๑๐.อาสวักขยญาณ; นิยมเขียน ทศพลญาณ; ดู ญาณ ชื่อนั้นๆ
  2. จักรวรรดิวัตร ๑๒ : ๑.อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ คุ้มครองสงเคราะห์แก่ชนในพระราชฐานและพยุหเสนา ๒.ขตฺติเยสุ แก่กษัตริย์เมืองขึ้นหรือผู้ครองนครภายใต้พระบรมเดชานุภาพ ๓.อนุยนฺเตสุ แก่กษัตริย์ที่ตามเสด็จคือ เหล่าเชื้อพระวงศ์ผู้เป็นราชบริพาร ๔.พฺราหฺมณคหปติเกสุ แก่พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ๕.เนคมชานปเทสุ แก่ชาวนิคมและชาวชนบทคือ ราษฎรพื้นเมืองทั้งเหล่าย ๖.สมณพฺราหฺมเณสุ แก่เหล่าสมณพราหมณ์ ๗.มิคปกฺขีสุ แก่เหล่าเนื้อนกอันพึงบำรุงไว้ให้มีสืบพันธุ์ ๘.อธมฺมการปฏิกฺเขโป ห้ามปรามมิให้มีความประพฤติการอันไม่เป็นธรรม ๙.อธนานํ ธนานุปฺปทานํ เจือจานทรัพย์ทำนุบำรุงแก่ผู้ขัดสนไร้ทรัพย์ ๑๐.สมณพฺราหฺมเณ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺหาปุจฺฉนํ ไปสู่หาพราหมณ์ไต่ถามอรรถปฤษณา ๑๑.อธมฺมราคสฺส ปหานํ เว้นความกำหนัดในกามโดยอาการไม่เป็นธรรม ๑๒.วิสมโลภสฺส ปหานํ เว้นโลภกล้า ไม่เลือกควรไม่ควร
  3. ญาณ ๑๖ : ญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนาโดยลำดับตั้งแต่ต้นจนถึงจุดหมาย คือมรรคผลนิพพาน ๑๖ อย่างคือ ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ ญาณกำหนดแยกนามรูป ๒.(นามรูป) ปัจจัยปริคคหญาณ ญาณกำหนดจับปัจจัยแห่งนามรูป ๓.สัมมสนญาณ ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์ ๔.- ๑๒.(ตรงกับวิปัสสนาญาณ ๙) ๑๓.โคตรภูญาณ ญาณครอบโคตรคือหัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน ๑๔.มัคคญาณ ญาณในอริยมรรค ๑๕.พลญาณ ญาณในอริยผล ๑๖.ปัจจเวกขณญาณ ญาณที่พิจารณาทบทวน; ญาณ ๑๖ นี้เรียกเลียนคำบาลีว่า โสฬสญาณ หรือ เรียกกึ่งไทยว่า ญาณโสฬส; ดู วิปัสสนาญาณ
  4. ฐานาฐานญาณ : ปรีชากำหนดรู้ฐานะคือสิ่งที่เป็นไปได้ เช่นทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น และอฐานะ คือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ เช่น ทำดีได้ชั่ว ทำชั่วได้ดี เป็นต้น (ข้อ ๑ ในทสพลญาณ)
  5. ทศพลญาณ : ดู ทสพลญาณ
  6. มาร : 1.สิ่งที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากความดีหรือจากผลที่หมายอันประเสริฐ, ตัวการที่กำจัดหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี มี ๕ คือ ๑.กิเลสมาร มารคือกิเลส ๒.ขันธมาร มารคือเบญจขันธ์ ๓.อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขารที่ปรุงแต่งกรรม ๔.เทวปุตตมาร มารคือเทพบุตร ๕.มัจจุมาร มารคือความตาย 2.พระยามารที่มีเรื่องราวปรากฏบ่อยๆ ในคัมภีร์ คอยมาแทรกแซงเหตุการณ์ต่างๆ ในพุทธประวัติ เช่น ยกพลเสนามาผจญพระมหาบุรุษในวันที่จะตรัสรู้ พระองค์ชนะพระยามารได้ด้วยทรงนึกถึงบารมี ๑๐ คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา มารในกรณีเช่นนี้ บางทีท่านอธิบายออกชื่อว่าเป็นสวัตดีมาร ซึ่งครองแดนหนึ่งในสวรรค์ชั้นสูงสุด แห่งระดับกามาวจรคือปรนิมิตวสวัตดี เป็นผู้คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้มิให้ล่วงพ้นจากแดนกามซึ่งอยู่ในอำนาจครอบงำของตน อย่างไรก็ดี ผู้ศึกษาพึงพิจารณาเทียบจากมาร ๕ ในความหมายที่ 1.ด้วย
  7. วิปากญาณ : ปรีชาหยั่งรู้ผลแห่งกรรมคือ รู้จักแยกได้ว่า บรรดาผลที่สัตว์ทั้งหลายได้รับอันซับซ้อน อันใดเป็นผลของกรรมดีหรือกรรมชั่วอย่างใดๆ เรียกเต็มว่า กรรมวิปากญาณ (ข้อ ๒ ในทสพลญาณ)
  8. สันโดษ : ความยินดี, ความพอใจ, ยินดีด้วยปัจจัย ๔ คือ ผ้านุ่งผ้าห่ม อาหารที่นอนที่นั่ง และยา ตามมีตามได้, ยินดีของของตน, การมีความสุขความพอใจด้วยเครื่องเลี้ยงชีพที่หามาได้ด้วยความเพียรพยายามอันชอบธรรมของตน ไม่โลภ ไม่ริษยาใคร; สันโดษ ๓ คือ ๑.ยถาลาภสันโดษ ยินดีตามที่ได้ คือได้สิ่งใดมาด้วยความเพียรของตน ก็พอใจด้วยสิ่งนั้น ไม่เดือดร้อนเพราะของที่ไม่ได้ ไม่เพ่งเล็งอยากได้ของคนอื่นไม่ริษยาเขา ๒.ยถาพลสันโดษ ยินดีตามกำลัง คือพอใจเพียงแค่พอแก่กำลังร่างกายสุขภาพและขอบเขตการใช้สอยของตน ของที่เกินกำลังก็ไม่หวงแหนเสียดายไม่เก็บไว้ให้เสียเปล่า หรือฝืนใช้ให้เป็นโทษแก่ตน ๓.ยถาสารุปปสันโดษ ยินดีตามสมควร คือ พอใจตามที่สมควรแก่ภาวะ ฐานะ แนว ทางชีวิต และจุดหมายแห่งการบำเพ็ญกิจของตน เช่นภิกษุพอใจแต่ของอันเหมาะกับสมณภาวะ หรือได้ของใช้ที่ไม่เหมาะกับตนแต่จะมีประโยชน์แก่ผู้อื่น ก็นำไปมอบให้แก่เขา เป็นต้น; สันโดษ ๓ นี้เป็นไปในปัจจัย ๔ แต่ละอย่าง จึงรวมเรียกว่า สันโดษ ๑๒
  9. เสนา : กองทัพ ในครั้งโบราณหมายถึงพลช้าง พลม้า พลรถ พลเดินเท้า เรียกว่าจตุรงคินีเสนา (เสนามีองค์ ๔ หรือ เสนา ๔ เหล่า)
  10. อนึก : กองทัพ คือ ช้าง ม้า รถ พลเดิน ที่จัดเป็นกองๆ แล้ว

ETipitaka Pali-Thai Dict : พล, more than 5 found, display 1-5
  1. พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
  2. พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ; ๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
  3. พลนายก : (ปุ.) บุคคลผู้นำพล, แม่ทัพ.
  4. พลโกฏฺฐก : (นปุ.) เขตทหาร.
  5. พลคุมฺพ : ป. แถวทหาร
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : พล, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : พล, 10 found, display 1-10
  1. การระดมพล : พฺยูโห
  2. กองทัพ : วาหินี, ธชินี, เสนา, จมู, จกฺกํ, พลํ, อนีโก, เสนา, เสนาพฺยูโห, อนีกํ [นป.]
  3. กัมพลศิลาอาสน์ : กมฺพลสิลาสนํ [นป.]
  4. กำลัง, ความสามรถ : พลํ, ถาโม, สหํ, สตฺติ, ปรกฺกโม
  5. พลัง : พลํ, ถามํ
  6. มัว (ตา) : ทุพฺพล
  7. มีกำลังมาก : มหพฺพล
  8. สนับสนุนเลือกตั้ง : ปวิจินเน พลมนุพฺรูหเย
  9. นั่งรอคอย : เวลํ อาคมยมาโน นิสีทิ
  10. รองเวลา : เวลํ อาคมยมาโน, กาลํ อาคมยเต

(0.1234 sec)