Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พอใจ , then พอจ, พอใจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พอใจ, 175 found, display 1-50
  1. กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
  2. เคธ : (วิ.) กำหนัด, อยาก, ปราถนา, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, รัก, รักใคร่. คิธฺ อภิกํขายํ, โณ.
  3. ชคฺฆติ : ก. หัวเราะ, กระซิกกระซี้, พอใจ
  4. ตปฺเปติ : ก. อิ่มใจ, พอใจ, ชอบใจ
  5. ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  6. ตุสฺสติ : ก. ยินดี, ร่าเริง, พอใจ
  7. โตสน : (วิ.) ยินดี, พอใจ, แช่มชื่น, ให้ยินดี, ฯลฯ.
  8. นนฺทติ : ก. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
  9. นนฺท, นนฺทก : ค. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
  10. นิจฺฉาต : ค. ไม่หิวกระหาย, ไม่อยาก, หมดอยาก, พอใจ
  11. นิรต : ค. ยินดี, พอใจ, ชอบใจ
  12. ปสนฺน : ค. ผ่องใส, เบิกบาน, พอใจ, เลื่อมใส ; ไหลออก
  13. ปิยายติ : ก. รักใคร่, พอใจ, ใฝ่ฝัน
  14. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  15. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  16. รชฺชติ : ก. ยินดี, กำหนัด, พอใจ
  17. รญฺชติ : ก. ยินดี, พอใจ
  18. สาต : (วิ.) จืด, หวาน, อร่อย, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, พึงใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน, สุข. ส. ศาต.
  19. สุมน : (วิ.) มีใจดี, พอใจ, ยินดี, ดีใจ.
  20. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  21. อนุรญฺชติ : ก. ยินดี, รักใคร่, พอใจ, กำหนัด
  22. อนุรุชฺฌติ : ก. ยินดี, พอใจ, ปลื้มใจ, ตื่นเต้น
  23. อนุโรธ : (วิ.) คล้อยตาม, อ่อนตาม, ยินดี, ยินดีตาม, อิ่มใจ, พอใจ, ชอบใจ, ดีใจ, ฟูตาม.อนุปุพฺโพ, รุธิอาวรณกาเมสุ, โณ.
  24. อภิตปฺปยติ : ก. อิ่ม, พอใจ, จุใจ
  25. อภิโตเสติ, - สยติ : ก. ยินดียิ่ง, พอใจ
  26. อภิปิหยติ : ก. ปรารถนา, รักใคร่, พอใจ
  27. อภิโรจติ : ก. ชอบใจ, พอใจ, ยินดี
  28. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  29. อาโมทติ : ก. ยินดี, อนุโมทนา, พอใจ
  30. อิฏฺฐ : ๑. นป., ความอยาก, ความชอบใจ, ความสวยงาม, อารมณ์ที่น่าชอบใจ; ๒. ค. ยินดี, พอใจ, น่ารัก, น่าใคร่, สวยงาม
  31. ทิฏฺฐา : (อัพ. นิบาต) ความยินดี, ยินดี, พอใจ.
  32. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  33. กนฺติก : ค. ๑. ผู้ปั่น, ผู้หมุน, ผู้ติด; ๒. ผู้ใคร่, น่าพอใจ
  34. กมฺมาราม : ค. พอใจในการงาน, ซึ่งยินดีในการงาน
  35. กมฺมารามตา : อิต. ความพอใจใจการงาน, ความเป็นผู้ยินดีในการงาน
  36. กลฺลิต : นป. ความยินดี, ความพอใจ, ความเห็นด้วย
  37. กามจฺฉนฺท : ป. ความพอใจในกาม
  38. กามฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกาม, ความพอใจในกามทั้ง ๕.
  39. กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
  40. กามสฺสาท : ป. ความพอใจในกาม
  41. การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
  42. คนฺธตณฺหา : (อิต.) ความอยากในกลิ่น, ความพอใจในกลิ่น.
  43. จาฏุ : (วิ.) เป็นที่พอใจ วิ. จาเฏฺติ อมนุญฺญ- ภาวฺนฺติ จาฏุ. จฏฺ เภทเน, ณุ.
  44. จารุทสฺสน : ค. ซึ่งดูเป็นที่พอใจ, น่าดู, น่ารัก, มีเสน่ห์
  45. จิตฺตรุจิต : ค. ซึ่งจิตชอบ, ซึ่งเป็นที่พอใจ
  46. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  47. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  48. โจกฺข : ค. สะอาด, น่าพอใจ; ฉลาด
  49. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  50. ฉนฺทช : ค. เกิดความพอใจ, เกิดความรักใคร่หรือปรารถนา
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-175

(0.0257 sec)