Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พิจารณา , then พิจารณา, วิจารณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พิจารณา, 103 found, display 1-50
  1. กปฺเปติ : ก. สำเร็จ, เลี้ยงชีพ, จัดแจง, เตรียม, พิจารณา, ทำให้เหมาะสม
  2. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  3. ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
  4. ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
  5. นิสาเมติ : ก. ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ
  6. ปริกฺขติ : ก. ตรวจตรา, สอบสวน, พิจารณา
  7. วีมสติ : ก. ทดลอง, พิจารณา
  8. สมฺปสฺสติ : ก. เห็น, พิจารณา
  9. สมฺมสติ : ก. เข้าใจ, รู้ตลอด, ลูบคลำ, พิจารณา
  10. สลฺลกฺเขติ : ก. กำหนด, พิจารณา
  11. อนุเปกฺขติ : ก. เพ่งดู, จ้องดู, พิจารณา, ไตร่ตรอง
  12. อนุวิตกฺเกติ : ก. ตรึก, ไตร่ตรอง, พิจารณา
  13. อนุสญฺเจเตติ : ก. เพ่ง, ตรึก, พิจารณา
  14. อปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, พิจารณา
  15. อาวชฺชติ : ก. คิด, นึก, สังเกต, พิจารณา; เคลื่อน, คว่ำ, ไหลออก
  16. อุปปริกฺขติ : ก. เห็นรอบ, พิจารณา, สำรวจ, สอบทาน
  17. อุปวิจรติ : ก. วิจาร, พิจารณา, ใคร่ครวญ
  18. อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
  19. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  20. กมฺมสมฺปตฺติ : (อิต.) การถึงพร้อมแห่งกรรม, ความถึงพร้อมแห่งกรรม,สมบัติของกรรม, การถึงพร้อมแห่งการงาน, ความพิจารณา การงาน, ความตรวจตราการงาน.
  21. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  22. กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
  23. กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
  24. กายานุปสฺสี : ป. ผู้พิจารณาเห็นกายในกายเป็นนิตย์, ผู้ตั้งสติกำหนดกาย
  25. การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
  26. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  27. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  28. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  29. ตีรณ : นป. การพิจารณา, การไตร่ตรอง, การตัดสิน
  30. ตีเรติ : ก. พิจารณา, ตกลงใจ, ตัดสิน, ทำให้สำเร็จ
  31. ตุลิต : กิต. ชั่งแล้ว, ตวงแล้ว, เปรียบเทียบแล้ว, พิจารณาแล้ว
  32. ธมฺมูโปสถ : ป. ธรรมอุโบสถ, วันที่กำหนดรักษาอุโบสถโดยพิจารณาถึงธรรม
  33. นิจฺฉินาติ : ก. พิจารณา, สอบสวน
  34. นิชฺฌาปย : ค. มีความพินิจพิจารณา, มีความพินิจพิเคราะห์
  35. นินฺเนตุ : ป. ผู้นำ; ผู้ตัดสิน, ผู้ชี้ขาด, ผู้พิจารณา
  36. ปจฺจเวกฺขณ : นป. การพิจารณา, การไตร่ตรอง
  37. ปจฺจเวกฺขติ : ก. พิจารณา, ไตร่ตรอง
  38. ปฏิมสติ : ก. พิจารณา, ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ
  39. ปฏิวินิจฺฉินติ : ก. วินิจฉัยใหม่, กลับพิจารณาอีก
  40. ปฏิสงฺขยนฺต : กิต. พิจารณาอยู่
  41. ปฏิสงฺขา : ๑. อิต. การพิจารณา; ๒. กิต. พิจารณาแล้ว, ใคร่ครวญแล้ว
  42. ปฏิสงฺขาติ : ก. พิจารณา, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง
  43. ปฏิสงฺขาน : นป. การพิจารณา, การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง
  44. ปฏิสงฺขานพล : นป. กำลังแห่งการพิจารณา, ธรรมที่เป็นกำลังคือการพิจารณา, อำนาจการพิจารณา
  45. ปฏิสญฺจิกฺขติ : ก. พิจารณา, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง
  46. ปราเภตฺวา : อ. พิจารณาดูแล้ว, พิจารณาเห็นชัด, รู้ชัดเจน (ดุจผ่าหัวใจออกดู) แล้ว
  47. ปริกฺข : (นปุ.) การเห็นทั่ว, การเห็นรอบ, ความเห็นรอบ, การขอความเห็น, การหารือ, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา. ปริพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนํเกสุ, อ. ส. ปรึกษา.
  48. ปริกฺขก : (วิ.) ผู้พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็ว, ผู้ พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็วทันที, ผู้รู้เหตุ รวดเร็ว วิ. ปริกฺขเต อวธารยเต ปมาเณหิ อตฺถ มิติ ปริกฺขโก, ณฺวุ ปัจ. อภิฯ
  49. ปริกฺขณ : นป. การตรวจตรา, การสอบสวน, การพิจารณา, การทดสอบ
  50. ปริตุเลติ : ก. พิจารณา, ตีราคา, ชั่งน้ำหนัก
  51. [1-50] | 51-100 | 101-103

(0.0211 sec)