Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พินิจพิเคราะห์, พิเคราะห์, พินิจ , then พนจพคราห, พิเคราะห์, พินิจ, พินิจพิเคราะห์, วิเคราะห์, วินิจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พินิจพิเคราะห์, 22 found, display 1-22
  1. นิชฺฌาปย : ค. มีความพินิจพิจารณา, มีความพินิจพิเคราะห์
  2. อวฺยายต : ค. ไม่พินิจพิเคราะห์, ประมาท
  3. อุปวิจาร : ป. ความพินิจพิเคราะห์, การพิจารณา
  4. กาจนา : อิต. ความตรึกตรอง, ความพินิจ; เครื่องชั่ง
  5. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  6. ฌายน : (นปุ.) ความเพ่ง, ความพินิจ, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. เฌ จินฺตายํ ทิตฺติยญจฺ ยุ.
  7. ฌายี : (วิ.) ผู้เพ่ง, ผู้พินิจ, ผู้มีฌาน.
  8. ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ : อิต. ความทนต่อการเพ่งด้วยทิฐิ, อดทนต่อการเพ่งพินิจเพราะทิฐิ, ความปักใจดิ่งด้วยทิฐิ
  9. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  10. อิกฺขณ อิกฺขน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การ แลดู, การเพ่ง, ความแลดู, ความพินิจ, ความรู้, ความกำหนด, เครื่องหมาย, ยุ ปัจ.
  11. อุปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งด้วยใจ, การพินิจ, การพิจารณา, ความเพ่งด้วยใจ, ฯลฯ. อุป นิ ปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  12. อุปนิชฺฌายติ : ก. เพ่งพินิจ, ไตร่ตรอง
  13. อุปนิชฺฌายน : นป. ความพินิจ, การไตร่ตรอง
  14. ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
  15. ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
  16. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  17. ววตฺถิต : กิต. วิเคราะห์แล้ว, แยกธาตุแล้ว
  18. ววตฺเถติ : ก. วิเคราะห์, แยกธาตุ
  19. สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
  20. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  21. อวิคฺคห : (วิ.) มิใช่วิเคราะห์, ไม่ใช่วิเคราะห์.
  22. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  23. [1-22]

(0.0573 sec)