Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาวนา , then ภาวน, ภาวนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาวนา, 17 found, display 1-17
  1. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  2. ภาวนานุโยค : ป. การตามประกอบภาวนา
  3. ภาวนาวิธาน : นป. การเจริญวิปัสสนา
  4. กรุณาภาวนา : อิต. กรุณาภาวนา, การเจริญหรือก่อให้เกิดความกรุณา
  5. อนุพฺรูเหติ : ก. พอกพูน, ภาวนา, ทำให้เจริญ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  6. กายภาวนา : อิต. การอบรมกาย, การฝึกหัดกาย
  7. จิตฺตภาวนา : (อิต.) การยังจิตให้เจริญ, การอบรมจิต.
  8. สมฺภาวนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
  9. อสุภภาวนา : อิต. การบริกรรมว่าไม่งาม, การพิจารณาว่าร่างกายเป็นของน่าเกลียด
  10. ภาวน : (นปุ.) คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ.
  11. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  12. กฺริย : (นปุ.) การอันสัตบุรุษควรทำ (ได้แก่ ทานศีลและภาวนา) วิ. สปฺปุริเสหิ กตฺตพฺพนฺติ กฺริยํ. กรฺ กรเณ, โณย. ลบ อ ที่ ก อิ อาคม.
  13. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  14. ภาวนามย : (วิ.) สำเร็จด้วยภาวนา, สำเร็จด้วยการเจริญภาวนา.
  15. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  16. เสรีธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งเสรีภาพ. เสรีภาวนา+ธมฺม.
  17. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.

(0.0081 sec)