Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาถิ่น, ภาษา, ถิ่น , then ถน, ถิ่น, ภาษ, ภาษา, ภาษาถน, ภาษาถิ่น, ภาสา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาถิ่น, more than 7 found, display 1-7
  1. idiom : (N) ; ภาษาถิ่น ; Syn:dialect
  2. language : (N) ; ภาษา ; Syn:speech, dialect
  3. lingo : (N) ; ภาษา ; Syn:dialect
  4. tongue : (N) ; ภาษา ; Syn:language
  5. Egyptian : (N) ; ภาษาถิ่นอารบิกที่ใช้พูดในประเทศอียิปต์
  6. Low German : (N) ; ภาษาถิ่นเยอรมันที่ใช้ทางเยอรมันตอนเหนือ ; Syn:Plattdeutsch
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาถิ่น, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาถิ่น, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษาถิ่น : (N) ; dialect ; Related:regional speech, localism, vernacular ; Syn:ภาษาย่อย ; Def:ภาษาที่มีสำเนียงพูดหรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันไปตามผู้ใช้ที่อยู่ในถิ่นนั้นๆ เช่น ภาษาถิ่นเหนือ ; Samp:นักศึกษาจะเรียนรู้ภาษาถิ่นได้ดี ก็ต่อเมื่อเข้าไปอยู่ในถิ่นนั้นจริงๆ ; Unit:ภาษา
  2. ภาษาท้องถิ่น : (N) ; vernacular ; Related:dialect ; Syn:ภาษาถิ่น ; Def:ภาษาที่มีสำเนียงหรือถ้อยคำที่พูดกันเป็นพื้นเฉพาะถิ่น ; Samp:หลายครั้งที่ได้ยินพวกคุณพูดคุยกันด้วยภาษาท้องถิ่น มันทำให้ผมอดที่จะคิดถึงบ้านของผมไม่ได้ ; Unit:ภาษา
  3. ภาษาพื้นเมือง : (N) ; dialect ; Related:regional speech, localism ; Syn:ภาษาถิ่น ; Samp:นอกจากการไปฝึกหัดทหารแล้ว เขายังต้องฝึกตนเองให้สามารถรู้ภาษาพื้นเมืองจนพูดได้ด้วย ; Unit:ภาษา
  4. ถิ่น : (N) ; area ; Related:region, part ; Syn:ที่, แดน, ที่อยู่ ; Samp:คนในเมืองสนใจคนแต่ผิวเผินภายนอก เป็นเพื่อนเร็วลืมเร็วเนื่องจากอาจจะย้ายถิ่นบ่อย ; Unit:ถิ่น
  5. ภาษา : (N) ; language ; Related:speech, words ; Syn:คำพูด ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม
  6. ภาษามนุษย์ : (N) ; human language ; Syn:ภาษา ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
  7. ถิ่นกำเนิด : (N) ; native land ; Related:habitat, home town ; Syn:ถิ่นเกิด, บ้านเกิด, บ้านเกิดเมืองนอน ; Samp:นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนได้ช่วยกันอนุรักษ์หมีแพนด้า 1,000 ตัวให้รอดชีวิตในถิ่นกำเนิดของมัน ; Unit:ถิ่น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาถิ่น, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษาถิ่น : น. ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะ ตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น.
  2. ถิ่น : น. ที่, แดน, ที่อยู่, เช่น ถิ่นเสือ ถิ่นผู้ร้าย.
  3. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  4. ส่งภาษา : ก. เจรจาปราศรัยกับผู้ที่พูดอีกภาษาหนึ่งโดยกล่าวคําเป็น ภาษานั้น เช่น ให้ล่ามไปส่งภาษาถามเขาดูว่าต้องการอะไร; พูดเป็น ภาษาอื่นหรือสำเนียงอื่นที่ตนฟังไม่เข้าใจ เช่น เขาส่งภาษาจีนกัน เขา ส่งภาษาถิ่น'' มาเลยฟังไม่รู้เรื่อง.
  5. ภาษาคำควบมากพยางค์ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบ หน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาว หลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  2. ภาษามคธ : ภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ, ภาษาของชาวแคว้นมคธ หมายถึง ภาษาบาลี
  3. มคธภาษา : ภาษาของชนชาวมคธ, ภาษาของชนผู้อยู่ในแคว้นมคธ
  4. ปฏิสัมภิทา : ความแตกฉาน, ความรู้แตกฉาน, ปัญญาแตกฉาน มี ๔ คือ ๑.อัตถปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถ ๒.ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม ๓.นิรุตติปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในนิรุกติ คือ ภาษา ๔.ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ
  5. อนาวาส : ถิ่นท่มิใช่อาวาส คือ ไม่เป็นวัด
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  3. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  4. ภารตี : (อิต.) ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, ภารดี.
  5. วาณี : อิต. ถ้อยคำ, ภาษา
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาถิ่น, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาถิ่น, 7 found, display 1-7
  1. รู้ภาษาบาลี : ปาลิภาสาชนนกา
  2. เจ้าถิ่น : เนวาสิโก
  3. ผู้ฉลาดในภาษา : นิรุตฺติกุสโล
  4. อนุรักษ์ภาษาไทย : ทยฺยภาสารกฺข
  5. สันสฤต : สกฺกฏภาษา
  6. เต้านม : ถนํ
  7. เต้านม, ถัน : ถโน, กุโจ, ปโยธโร

(0.2030 sec)