Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มนุษย์ , then มนษย, มนุษย์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มนุษย์, 44 found, display 1-44
  1. ทิปท : ป. สัตว์สองเท้า, มนุษย์
  2. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  3. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  4. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  5. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  6. กรงฺค : นป. ศีรษะ, หัว, กระดูกมนุษย์
  7. กึปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) มนุษย์หรือ, คนหรือ, กินนร. วิ. อสฺสมุขสทิสตาย กุจฺฉิโต ปุริโส กึปุริโสกิมฺปุริโสวา.กิญฺจิวาปุริโสกิมฺปุริโส.
  8. เกสกมฺพล : นป. ผ้ากัมพลทำด้วยผม, ผ้าห่มทำด้วยผมมนุษย์
  9. เกสกมฺพลี : ค. ผู้ห่มผ้ากัมพลที่ทำด้วยผมมนุษย์ (หมายถึงอชิตเกสกัมพล)
  10. ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
  11. จตุจกฺก : ค. มีจักรสี่ (หมายถึงร่างกายของมนุษย์), มีสี่ล้อ
  12. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  13. ญาตมนุสฺส : (ปุ.) มนุษย์ผู้มีชื่อเสียง.
  14. เทวมานุส : ป. เทวดาและมนุษย์
  15. นาราจ : (ปุ.) เครื่องสังหารหมู่มนุษย์, ลูกศร. นาร+อา+จกฺ+ร ปัจ. ส. นารจ.
  16. นิมฺมนุส : นป. ความไม่มีมนุษย์
  17. ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
  18. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  19. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  20. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  21. มนุเชส : (ปุ.) คนผู้เป็นจอมมนุษย์, พระราชา. มนุช+อีส.
  22. มนุสฺสชาติ : (อิต.) การเกิดเป็นมนุษย์, ชาติมนุษย์.
  23. มนุสฺสชาติย : (วิ.) ผู้เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติมนุษย์. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  24. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  25. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  26. มนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์, มนุษยธรรม คือ ศีล ๕ และ กัลยาณธรรม๕.
  27. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  28. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  29. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  30. มนุสฺสภูต : ค. เป็นมนุษย์
  31. มนุสฺสโลก : (ปุ.) โลกของมนุษย์, โลกมนุษย์, มนุษยโลก.
  32. มนุสฺสา มนุสฺสี มานุสี : (อิต.) มนุษย์ผู้หญิง, มนุษย์หญิง, หญิงมนุษย์.
  33. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  34. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  35. มานุสก : (วิ.) เป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์, เป็นของแห่งมนุษย์, เป็นของมนุษย์. ก ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๐.
  36. มานุสฺสก : (ปุ.) ประชุมแห่งมนุษย์, หมู่แห่งมนุษย์. วิ. มนุสฺสานํ สมุโห มานุสฺสโก. กณฺ ปัจ. รูปฯ ๓๖๔.
  37. มานุสี : (วิ.) นี้แห่งมนุษย์.
  38. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  39. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  40. อมนุสฺส : (วิ.) มิใช่มนุษย์วิ. นมนุสฺโสอมนุสฺโส.ส. อมนุษฺย.
  41. อมานุส, อมานุสิก : ค. ไม่ใช่มนุษย์
  42. อาสภ : (วิ.) นี้ของมนุษย์ผู้ประเสริฐ, นี้ของโค อุสภะ. วิ. อุสภสฺส อิทํ อาสภํ. อุสภสฺส อยํ อาสโภ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง อุ เป็น อา.
  43. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  44. อุตฺตริมนุสฺสธมฺมสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบท อันบัณฑิตกำหนดแล้ว ด้วยธรรมของ มนุษย์ผู้ยิ่ง, ฯลฯ.
  45. [1-44]

(0.0091 sec)