Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ระเบียบปฏิบัติ, ระเบียบ, ปฏิบัติ , then ปฏิบัติ, รบยบปฏบต, ระเบียบ, ระเบียบปฏิบัติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ระเบียบปฏิบัติ, 139 found, display 1-50
  1. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  2. นิพฺพตฺเตติ : ก. เกิด, อุบัติ, ผลิต; ประสบ; ประพฤติ, ปฏิบัติ
  3. เนติ : ๑. ก. นำไป, ย่อมแนะนำ ; ๒. อิต. การแนะนำ, ระเบียบ, กฎ
  4. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  5. ปวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไป, หมุน; ประพฤติ, ปฏิบัติ
  6. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  7. เสวน : (วิ.) เสพ, คบหา, รับใช้, ปฏิบัติ, ศึกษา, เล่าเรียน.
  8. อนุฏฺฐหติ : ก. เฝ้าดู, ปฏิบัติ
  9. อนุฏฺฐิต : ๑. ค. (น+อุฏฐิต) ไม่ลุกขึ้น, ขี้เกียจ ๒. (อนุ+อุฏฐิต) เฝ้าดู, ปฏิบัติ
  10. อนุพฺรูเหติ : ก. พอกพูน, ภาวนา, ทำให้เจริญ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  11. อภิยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ปฏิบัติ, กล่าวหา, สอบถาม
  12. อาจรติ : ก. ประพฤติ, ปฏิบัติ, กระทำ
  13. อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
  14. อิริยติ : ก. เคลื่อนไป, ย้ายไป, พยายาม, ปฏิบัติ
  15. อุปยุญฺชติ : ก. เกี่ยวข้อง, ประกอบ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  16. ปฆณ : ป. ระเบียบ
  17. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  18. กปฺปิยการก : (ปุ.) กัปปิยการพ ชื่อคนผู้ทำ ของที่ไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นของที่ สมควรแก่สมณะ, ผู้ปฏิบัติพระ, ลูกศิษย์พระ.
  19. กมฺมฏฐานิก : ค. ผู้ปฏิบัติกรรมฐาน
  20. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  21. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  22. กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
  23. กุลปาลิกา : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, ลูกสาว- ผู้เชื่อฟัง, ลูกสาวผู้ปฏิบัติตามธรรมของ ตระกูล, ลูกสาวผู้รักษาตระกูล. วิ. กุลํ ปาเลตีติ กุลปาลิกา. กุลสทฺทุปฺปทํ, ปาลฺ รกฺขเณ, ณฺวุ, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  24. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  25. ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
  26. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  27. จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
  28. จริตุ : ป. คนผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ, ผู้ปฏิบัติ
  29. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  30. จิณฺณ : กิต. (อันเขา) ประพฤติแล้ว, อันเขาปฏิบัติแล้ว; เที่ยวไปแล้ว
  31. จิณฺณวสี : ค. ผู้มีความชำนาญอันตนประพฤติแล้ว, ผู้ปฏิบัติเชี่ยวชาญแล้ว
  32. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  33. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  34. ทนฺตปนฺติ, ทนฺตปาฬิ : อิต. ถ่องแถวแห่งฟัน, ระเบียบแห่งฟัน
  35. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  36. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  37. ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
  38. ธมฺมกมฺม : นป. การกระทำตามธรรม, การปฏิบัติตามกฏ
  39. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  40. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  41. ธมฺมรส : (ปุ.) รสแห่งธรรม, รสของธรรม, รส อันเกิดแล้วจากธรรม, ธรรมรส (ความชื่นชมยินดี ความอิ่มใจ ความพอใจ อัน เกิดจากการปฏิบัติตามธรรม).
  42. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  43. ธมฺมานุวตฺตี : ค. อนุวัตรตามธรรม, ปฏิบัติธรรม, คล้อยตามธรรม
  44. ธุตงฺค : นป. ธุดงค์, องคคุณเครื่องกำจัดกิเลส, การปฏิบัติของนักพรต
  45. ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
  46. ธุตธร : ค. ผู้ถือธุดงค์, ผู้ปฏิบัติธุดงค์
  47. ธุตวต : นป. การปฏิญาณตนเพื่อปฏิบัติธุดงค์
  48. ธุตวาท, - ที : ป. ผู้กล่าวสอนเรื่องธุดงค์, ผู้ส่งเสริมการปฏิบัติธุดงค์
  49. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  50. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-139

(0.0566 sec)