Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ราคะ , then ราค, ราคะ, ราคา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ราคะ, 51 found, display 1-50
  1. ราค : ป. สี, เครื่องย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี
  2. ราคคฺคิ : ป. ไฟคือราคะ
  3. ราครตฺต : ค. ถูกย้อมด้วยราคะ
  4. ปทุมราค : (ปุ.) ทับทิม, แก้วทับทิม, พลอยสี แดง, ปัทมราคะ, ปัทมราช. วิ. ปทุมญฺจาตฺร โกกนทํ, ตพฺพณฺณสทิโส มณิ ปทุมราโค. ฎีกาอภิฯ
  5. ปุสฺสราค : (ปุ.) พลอยสีเหลือง, ทับทิม, บุษราคะ, บุษราคัม. ส. ปุษฺปราค.
  6. ภวราค : (ปุ.) ความกำหนัดในภพ, ความยินดีในภพ, ความติดใจในภพ, ความพอใจในภพ, ภวราคะ. ดู ไตร.๓๐ ข้อ ๑๓๖.
  7. อสาราค : ป. ไม่มีราคะ, ไม่มีความกำหนัดยินดี
  8. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  9. นิกฺกสาว : (วิ.) มีรสฝาดออกแล้ว, ไม่มีน้ำฝาด คือราคะ, มีกิเลสเพียงดังน้ำฝาดออกแล้ว, ออกแล้วจากกิเลสเพียงดังน้ำฝาด. วิ. ดู นิกฺกาม เทียบ.
  10. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  11. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  12. อนุสฺสุต : ๑. กิต. ได้ฟังแล้ว, ได้ยินแล้ว ; ๒. ค. ไม่ชุ่ม, ปราศจากราคะ
  13. อภิรตฺต : ค. แดงยิ่ง, แดงมาก; อันราคะย้อมแล้ว
  14. อาทิตฺตปริยายสุตฺต : นป. อาทิตตปริยายสูตร, พระสูตรที่ตรัสเปรียบราคะ, โทสะ, โมหะว่าเป็นของร้อน
  15. อุปสนฺตราคาทิกิเลส : (วิ.) ผู้มีกิเลสมีราคะ เป็นต้น อันตนให้เข้าไปสงบแล้ว, ผู้มีกิเลส มีราคะเป็นต้น อันเข้าไปสงบแล้ว.
  16. อุสฺสุต : ค. อันทำให้แปดเปื้อน, อันเต็มไปด้วยราคะ
  17. ราคจริต : ค. ราคจริต, คนที่มีนิสัยชอบในความกำหนัดยินดี
  18. ราคกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งความกำหนัด
  19. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  20. ปาภฏ, ปาภต, ปาภติ : นป. บรรณาการ, ของขวัญ, ราคา, ทุน
  21. ผุสฺสราค : (ปุ.) ดู ปุสฺสราค.
  22. อุปราค : (ปุ.) พระคราธสูรย์และจันทร์, พระ เคราะห์. ส. อุปราค.
  23. ตาราคณ : ป. หมู่ดาว, กลุ่มดาว
  24. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  25. พฺยตฺติราค : (ปุ.) สีแดงเรื่อ, แดงเรื่อ.
  26. ราคี : ค. ผู้มีความกำหนัด
  27. รูปราค : ค. ความปรารถนาที่จะเกิดในรูปภพ
  28. วิราค : ป. การหมดยินดี
  29. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  30. อคฺฆนก อคฺฆนิก อคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มี ราคา.
  31. อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
  32. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  33. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  34. นวุติย : ค. อันควรค่าเก้าสิบ, มีราคาเก้าสิบ
  35. ปณติ : ก. ขาย, ซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ตกลงราคา, พนัน
  36. ปริตุเลติ : ก. พิจารณา, ตีราคา, ชั่งน้ำหนัก
  37. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  38. มหคฺฆ : (วิ.) มีค่ามาก, มีค่าใหญ่, มีราคามาก, มีราคาแพง.
  39. รตฺตมณี : ป. แก้วทับทิม, ปทุมราค
  40. อคฺฆการก : ป. ผู้คิดราคา
  41. อคฺฆติ : ก. มีค่า, ควรแก่ค่า, ถึงค่า, คาดราคา, ตีค่า
  42. อคฺฆนกอคฺฆนิกอคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา.
  43. อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
  44. อคฺฆวฑฺฒน : (นปุ.) การเพิ่มราคา, การขี้นราคา.
  45. อคฺฆาปน : นป. การตีราคา, การตกลงราคา
  46. อคฺฆาปนก : ป. ผู้ตีราคา, ผู้ประเมินค่า
  47. อคฺฆาปนกอคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
  48. อคฺฆาปนก อคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
  49. อคฺฆาปนิย : นป. สิ่งที่ตีราคาได้
  50. อคฺฆิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา, อันควรยกย่อง.สฺ อรฺฆย.
  51. [1-50]

(0.0089 sec)