Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ราวี , then ราว, ราวี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ราวี, 42 found, display 1-42
  1. ราว : ป. เสียง, เสียงร้อง
  2. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  3. อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
  4. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  5. เอราวต : (ปุ.) มะแว้ง, มะสัง (ผลมีรสเปรี้ยว), หมากหนาม, ส้ม. วิ. อิราตีนทิยา ตีเร ชาโตติ เอราวโต.
  6. คมฺภีราวภาส : ค. ซึ่งมีความลึกซึ้งปรากฏ, ปรากฏว่าลึกซึ้ง
  7. สราว : (ปุ.) ชาม, ฝาหม้อ, ฝาละมี. วิ. สรติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ สราโว. สรฺ คติยํ, อโว.
  8. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  9. อกฺขราวยว : (ปุ.) ส่วนแห่งอักษร, ส่วนต่างๆแห่งอักษร.
  10. อมราวตี : อิต. เมืองของพระอินทร์
  11. อารวอาราว : (ปุ.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงมี่ (เสียงอึกทึก).เสียงอึงมี่(เสียงอึกทึกระงมไป).อาปุพฺโพ, รุสทฺเท.โณ, ยุ.ส.อารว.
  12. อาราว : ป. เสียงร้อง, เสียงครวญคราง
  13. อินฺทมฺพร อินฺทวร อินฺทิราวร อินฺทีวร : (ปุ.) บัวเขียว, บัวสีน้ำเงิน, นิลจง.
  14. อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
  15. อุทราวเทหก : ก. วิ. ล้นกระเพาะ
  16. เอราวตี : อิต. สายอสนีบาต, ฟ้าแลบ; แม่น้ำเอรวดี
  17. ฆฏ : (ปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  18. ฆฏา : (อิต.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  19. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  20. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  21. กตฺติก, - มาส : ป. ชื่อเดือนที่มีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์กัตติการาวเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน
  22. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  23. โคจรคาม : (ปุ.) บ้านเป็นที่เที่ยวแห่งภิกษุราว กะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, โคจรคาม คือ บ้านที่ภิกษุไปบิณฑบาตเสมอหมู่บ้านที่เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตเสมอ หมู่บ้านที่ เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตของสมณะ.
  24. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  25. จีวรรชฺชุ : อิต. เชือกราวจีวร, สายระเดียง
  26. จีวรวส : ป. ราวไม้ไผ่สำหรับตากจีวร, ราวจีวร, ไม้ระเดียง
  27. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  28. เชฏฺฐ : ๑. ป. ชื่อเดือนคือเดือนเจ็ดตกราวเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน; ๒. ค. พี่ใหญ่, ผู้เจริญที่สุด, สูงสุด
  29. ติรจฺฉานกถา : (อิต.) ติรัจฉานกถา ( ถ้อยคำที่ ไม่ควรพูด พูดนอกเรื่อง พูดไม่ได้เรื่อง ไม่ได้ราว).
  30. ทฺวารวตี : (อิต.) ทวาราวดี ชื่อเมือง. ไตร. ๓๒/ ๒๙๕ เป็น ทวารวตี
  31. ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
  32. ปวตฺติ : อิต. ความเป็นไป, เรื่องราว, ข่าว
  33. ปาฐ : ป. เรื่องราว; วิธีสาธยายคัมภีร์, การอ่านคัมภีร์; คัมภีร์, บาลี
  34. ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
  35. เปตวตฺถุ : นป. เรื่องราวของเปรต
  36. ผคฺคุณ : ป. เดือนผัคคุณ, เดือนที่ ๔ ทางจันทรคติ (ราวเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม)
  37. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  38. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  39. อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
  40. อาขยายิกา : อิต. อาขยายิกศาสตร์, เรื่องราว, นิทาน, ประวัติ
  41. อาวลิ, - ลี : อิต. ราว, แถว, เชือก
  42. อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.
  43. [1-42]

(0.0156 sec)