Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รำ, 38 found, display 1-38
  1. อวสนฺทน : (วิ.) เต้น, รำ, ฟ้อน.อวปุพฺโพ, สนฺทฺปสวเน, ยุ.
  2. กณกุณฺฑก : ค. (ขนม) ที่ทำด้วยรำข้าว
  3. กณฺฑ : (ปุ.) ลูกปืน, ลูกศร, ลูกธนู, ก้าน, ราก, ลำต้น, ท่อน, ท่อนไม้, ไม้เท้า, วรรค, ตอน, หมวด, อวกาศ, โอกาส, รำข้าว. กมฺ ปทวิกฺเขเป, กณฺ วา สทฺเท, โฑ. กณฺฑฺ วา เภทเน, อ. รูปฯ ๖๕๗ กฑิ เฉทเน, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป (ลบ ก ตัว ปัจ.)
  4. กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ; ๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
  5. กณโหม : นป. การเผารำบูชา, การทำพิธีซัดรำบูชาไฟ
  6. กุณฺฑก : (ปุ.) รำ, รำข้าว. กุณฑฺ ฑาเห, อ, สตฺเถ โก.
  7. กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
  8. กุณฺฑกงฺคารปูว : ป., นป. ขนมเบื้องที่ทำด้วยรำข้าว
  9. กุณฺฑกปูว : ป., นป. ขนมที่ทำด้วยรำข้าว
  10. กุณฺฑกมุฏฐิ : ป. รำข้าวหนึ่งกำมือ
  11. กุณฺฑกยาคุ : อิต. ยาคูที่ทำด้วยรำข้าว, ข้าวต้มรำ
  12. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  13. คตฺตวินาม : (ปุ.) การน้อมไปซึ่งกาย, การน้อมกายไปต่างๆ, การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ.
  14. จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
  15. ตณฺฑุล : (นปุ.) ข้าวสาร ( กระเทาะเปลือกและ รำออกแล้ว. ตฑิ ตาฬเน, อุโล.
  16. ทณฺฑยุทฺธ : ป. การต่อสู้ด้วยท่อนไม้, การต่อสู้กันด้วยตะบอง, การสู้กันด้วยไม้พลอง, การรำกระบี่กระบอง
  17. ธญฺญคฺค : นป. ปลายข้าว, รำข้าว
  18. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  19. นจฺจก : (ปุ.) คนฟ้อน, คนรำ, ฯลฯ.
  20. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  21. นจฺจติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ, ร่ายรำ
  22. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  23. นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
  24. นฏติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ, แสดง
  25. นฏ, นฏก, นฏฺฏ, นฏฺฏก, นตฺตก : ค. คนฟ้อนรำ, นักเต้นรำ, ตัวละคร
  26. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  27. นตฺต : ๑. นป. กลางคืน; ๒. นป. การฟ้อนรำ, การเต้นรำ, การร่ายรำ, การแสดง
  28. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  29. นาฏ นาฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, คนฟ้อน, คนฟ้อนรำ, ตัวละคร. ส. นาฏก.
  30. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  31. ปนจฺจติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ
  32. ปนจฺจิต : กิต. (อันเขา) ให้ฟ้อนรำแล้ว
  33. มุฏฺฐยุทฺธ : (ปุ.) การรำกระบี่กระบอง.
  34. ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
  35. หาวกรณ : (วิ.) ย่างเยื้อง, เยื้องกราย, กรายกร, ฟ้อนรำ.
  36. อพฺโภกฺกิรณ : นป. ท่ารำของนักฟ้อน, ท่าเยื้องกรายของนักฟ้อน
  37. อพฺโภกิรณ : นป. การโปรยลง, ท่ารำหรือเยื้องกรายของนักฟ้อน
  38. อุปนจฺจติ : ก. ฟ้อนรำ
  39. [1-38]

(0.0138 sec)