Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ริม , then รม, ริม, รีม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ริม, 117 found, display 1-50
  1. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  2. ตฏี : (อิต.) ฝั่ง, ตลิ่ง, ตลิ่งชัน, ท่า, ริม, เหว, ริมเหว, ปากเหว, เขาขาด. ตฏฺ อุสฺสเย อ. ศัพท์หลังลง อี อิต.
  3. ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
  4. ปุริมทิสา : (อิต.) ทิศมีในเบื้องหน้า, ทิศตะวันออก, ปุริมทิศ, บุริมทิศ, ทิศบูรพา.
  5. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  6. ติริม : (นปุ.) หมอก. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
  7. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  8. ปุริมชาติ : อิต. ชาติก่อน
  9. ปุริมยาม : (ปุ.) ยามต้น, ยามแรก, ปฐมยาน.
  10. ปุริมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนของวัยต้น, ตอนวัยต้น.
  11. วาริมคฺค : ป. ทางน้ำไหล
  12. สหาริม : ค. เคลื่อนที่ได้
  13. อปจฺฉปุริม : ค. ไม่ก่อนไม่หลัง
  14. อสหาริม : (วิ.) อัน...นำไปไม่ได้, นำไปไม่ได้.
  15. อสหาริมธน : (นปุ.) ทรัพย์อัน...นำไปไม่ได้, ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้, อสังหาริมทรัพย์โดยตรงได้แก่แผ่นดิน โดยอ้อมนับของที่เนื่องด้วยแผ่นดินด้วย.
  16. โอริม : ค. ส่วนต่ำที่สุด, สิ่งที่อยู่ด้านนี้
  17. โอริมตีร : (นปุ.) ฝั่งนี้.
  18. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  19. นิกฎ : (วิ.) ใกล้, ริม. วิ. นตฺถิ กโฏ อาวรณ เมตสฺสาติ นิกฏํ. ส. นิกฎ.
  20. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  21. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  22. ทนฺตจฺฉท ทนฺตจฺฉต : (ปุ.) ริมฝีปาก. ทนฺตปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จสํโยโค, ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ต. ส. ทนฺตจฺฉท.
  23. ทนฺตมส : (นปุ.) ริมฝีปาก.
  24. ทนฺตวรณ : นป. ริมฝีปาก
  25. ทนฺตวาส : (ปุ.) ริมฝีปาก.
  26. ทสนจฺฉท : (ปุ.) ริมฝีปาก วิ. ทสเน ฉาทยตีติ ทสนจฺฉโท. ทสนปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จฺสํโยโค.
  27. ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
  28. นลาฏนฺต : ป. ขอบหน้าผาก, ริมผม
  29. นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
  30. ปปาตตฏ : ป. ตลิ่งเหว, ขอบเหว, ที่ลาดริมเหว
  31. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  32. พิมฺโพฏฺฐ : ค. มีริมฝีปากแดงเหมือนผลตำลึงสุก
  33. มหาอุตฺตโรฎฺฐ : (ปุ.) ริมฝีปากข้างบนใหญ่.
  34. มุขวฏฺฏิ : อิต. ริมปาก, ขอบ
  35. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  36. หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.
  37. อนุตีร, อนุตีเร : ก. วิ. ใกล้ฝั่ง, ริมฝั่ง, ตามฝั่ง
  38. อนุปถ : นป. ข้างทาง, ริมทาง
  39. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  40. อุตฺตโรฏฐ : ป. ริมฝีปาก
  41. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  42. โอฏฐ : ป. ๑. ริมฝีปาก; ๒. อูฐ
  43. โอฏฺฐ : (ปุ.) ปาก, ริมฝีปาก, ขอบ. อุสฺ ทาเห, โต, ตสฺส ฏฺโฐ, สฺโลโป, โอตฺตํ (แปลง, อุ เป็น โอ). ส. โอษฺฐฺ.
  44. รมติ : ก. ยินดี, พอดี, รักใคร่
  45. รมภา : อิต. นางอัปสร; ต้นกล้วย
  46. ชิฆจฺฉาปรม : (วิ.) มีความหิวเป็นอย่างยอด.
  47. ทุรภิ ทุรม : (วิ.) อันรื่นรมย์ได้โดยยาก,ฯลฯ. ทุกฺข+รภฺธาตุในความยินดี อ ปัจ. ศัพท์ หลัง รมฺธาตุ.
  48. โรม : ป. ขน
  49. อภิรมติ : ก. อภิรมย์, ยินดี, ร่าเริง
  50. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-117

(0.0228 sec)