Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ละเอียด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ละเอียด, 53 found, display 1-50
  1. กณ : (วิ.) น้อย, ละเอียด, สุขุม, ใกล้. กณฺ สทฺเท, อ. ส. กณ.
  2. โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
  3. จุณฺณ : (วิ.) ป่น, แหลก, ละเอียด, เล็ก.
  4. จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
  5. จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  6. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  7. ปณีต : ค. ประณีต, ดียิ่ง, เลิศ, ละเอียด, เรียบร้อย, อร่อย
  8. เปลว : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง. วิ. ปิโย ลโว ยสฺมึ ตํ เปลวํ. ปิยสฺส เป. เปลิ คมเน วา อโว, ปิลฺ วตฺตเน วา.
  9. วจฺฉล : ค. สนิท, รักใคร่; ละเอียด
  10. วิจุณฺณ : ค.ขยี้, ทำลาย, ป่น, ละเอียด, แหลก
  11. สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
  12. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  13. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  14. อณุมตฺต : ค. ประมาณ ๑ อณู, ละเอียด
  15. อณุอนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก.อณฺคติยํ, อุ. ศัพท์หลังแปลงณุเป็นนุ.
  16. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  17. อติสณฺห : ค. อ่อนยิ่ง, ละเอียด
  18. อภิสว : (วิ.) เบียดเบียน, ผูก, จำ, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น.อภิปุพฺโพ, สุอภิสเว, อ.
  19. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  20. ภสฺม : (วิ.) รุ่งเรือง, แหลก, ละเอียด.
  21. มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
  22. สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
  23. กทฺทม : (ปุ.) ตม, เปือกตม (เลนที่ละเอียด), เลน, โคลน, สีตม. กทฺ มทฺเท, อโม, ทฺวิตฺตํ. กทฺทฺ กุจฺฉิตสทฺเท วา, อโม. ส.กรฺท, กรฺทม.
  24. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  25. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  26. ขตฺติยสุขุมาล : ค. ผู้ละเอียดอ่อน, ผู้นุ่มนวลเหมือนกษัตริย์, ผู้ดี
  27. จมร : (ปุ.) จมร จามรี จามจุรี ชื่อสัตว์จำพวก เนื้อทรายขนละเอียด หางยาวเป็นพู่ จมุ อทเน, อโร.
  28. จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
  29. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  30. จุณฺณกชาต : ค. ซึ่งเป็นผงละเอียด
  31. จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
  32. จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
  33. ชมฺพาล : (ปุ.) เปือกตม (เลนตมที่ละเอียด) วิ. ชลํ พลเตติ ชมฺพาโล. พลฺ ปาณเน, โณ แปลง ล ที่ ชล เป็น ม. ส. ชมฺพาล.
  34. โฏฏมฺพร : นป. ผ้าอย่างดี, ผ้าทอด้วยขนสัตว์มีเนื้อละเอียด
  35. ติณจุณฺณ : นป. ผงหญ้า, หญ้าที่เป็นผงละเอียด
  36. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  37. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  38. นิปุณ : (วิ.) อัน...กรองแล้วโดยไม่เหลือ, อัน...ชำระแล้วโดยไม่เหลือ. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, ยุ. ละเอียด, สุขุม, นุ่มนวล, ฉลาด, หลักแหลม, ชำนาญ. นิปุพฺโพ, ปุณฺ นิปุเณ, อ. นิศัพท์ลงในอรรถ เฉก. ส. นิปุณ.
  39. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  40. พุทฺธสุขุมาล : ป. พระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน, ผู้มีเชื้อชาติดี, ผู้ละเมียดละไม
  41. มฏฺฏสาฏก : นป. ผ้าเนื้อละเอียด, ผ้าเนื้อเกลี้ยง
  42. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  43. โยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย, การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันถูกทาง, การใส่ใจโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยแยบคาย, การพิจารณาโดยถี่ถ้วน, การพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วน, ความพิจารณาโดยถูกทาง, ฯลฯ.
  44. รุกฺข : ๑. ป. ต้นไม้; ๒. ค. หยาบคาย,ไม่ละเอียด
  45. วิจุณฺเณติ : ก. บดให้ละเอียด, ทำลาย
  46. สุขุมาล : (วิ.) ละเอียด, ละเอียดอ่อน, นิ่มนวล, นุ่มนวล, สละสลวย, ผู้ดี, ผิวบาง, บอบบาง, สุขุมาล, สุขุมาลชาติ.
  47. สุนิปุณ : (วิ.) อันละเอียดยิ่ง, ละเอียดยิ่งนัก, นุ่มนวลยิ่ง, ฉลาดยิ่ง, หลักแหลมยิ่ง, ชำนาญยิ่ง, สุขุมยิ่ง.
  48. อณุสหคต : ค. ซึ่งประกอบด้วยส่วนละเอียดที่สุด
  49. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  50. อภินิปุณ : ค. ละเอียดยิ่ง, รอบคอบ, ถี่ถ้วน
  51. [1-50] | 51-53

(0.0153 sec)