Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลักษณะเด่น, ลักษณะ, เด่น , then ดน, เด่น, ลกษณ, ลกษณดน, ลักษณะ, ลักษณะเด่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลักษณะเด่น, 82 found, display 1-50
  1. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  2. ธช : (ปุ.) ธง, ธงชัย, ธงชาย (ธงรูปสามเหลี่ยม), ธงแผ่นผ้า, เครื่องหมาย, ลอยตรา, ลักษณะ, ธวัช, ธุช. ธชฺ คติยํ, อ. ส. ธฺวช.
  3. นีหาร : ป. การนำออก, การขับไล่; ลักษณะ, วิธี, อาการกิริยา
  4. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  5. ลกฺขณ : นป. เครื่องหมาย, รอย, ลักษณะ, คุณภาพ, ปกติ
  6. ลิงฺค : นป. นิมิตแห่งบุรุษสตรี, เครื่องหมาย, ลักษณะ
  7. วิสย : ป. การผูก; การเสพ; ขอบเขต, แดน, ลักษณะ
  8. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  9. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  10. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  11. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  12. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  13. กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
  14. กมฺมลกฺขณ : ค. มีกรรมเป็นลักษณะ
  15. กายรถ : ป. รถคือกาย, รถมีลักษณะดุจร่างกาย
  16. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  17. กุมารลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะเด็ก
  18. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  19. เกตุ : (ปุ.) ลักษณะ, ธง. วิ. กิตฺติ อปเนติ เอเตนาติ เกตุ. กิตฺ นิวาเส, อุ กิตติ อุทฺธํ คจฺฉ ติ อุปริ นิวสตีติ วา เกตุ. กัจฯ๖๗๑ รูปฯ ๖๖๕ วิ อุทฺธํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ เกตุ. กิคติยํ. ตุ, อิสฺเส. ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. สฺ เกตุ.
  20. เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
  21. คิหิพฺยญฺชน : นป. ลักษณะของคฤหัสถ์
  22. คิหิลิงฺค : นป. เพศคฤหัสถ์, ลักษณะพิเศษของคฤหัสถ์
  23. คุณนาม : (ปุ.) ชื่ออันแสดงความดี, คุณนาม คือนามที่แสดงลักษณะของนามนามให้ รู้ว่าดีหรือชั่วเป็นต้น.
  24. คุณภาว : (ปุ.) ความดี, ชั้นของความดี, ลักษณะของความดี, คุณภาพ.
  25. คุณสทฺท : (ปุ.) คำแสดงชั้นของนามนาม. คำ คุณ, คุณศัพท์ (คำวิเสสนะ คำวิเศษณ์ คือคำที่แสดงลักษณะของนามนาม).
  26. โคลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งโค, การทำนายโชคชะตาโดยดูลักษณะของโค
  27. จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
  28. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  29. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  30. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  31. ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
  32. ตาทิลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งความคงที่หรือเป็นเช่นนั้น
  33. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  34. ทณฺฑลกฺขณ : นป. การทายลักษณะไม้พลอง, การทำนายโชคชะตาด้วยการดูลักษณะไม้พลอง
  35. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  36. ทาสลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะทาส, การทายโชคลาภโดยการดูลักษณะทาส
  37. ทุทฺทสิก : ค. มีลักษณะชั่ว, มีรูปร่างน่าเกลียด, มีรูปร่างขี้เหร่
  38. ธนุลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะธนูหรือศร
  39. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  40. ธมฺมสุธมฺมตา : อิต. ความวิเศษหรือความดีเด่นแห่งธรรม
  41. ธมฺมาตุ : (ปุ. อิต.) ธาตุคือธรรม, ธรรมธาตุ (ทรงไว้ซึ่งลักษณะของคนๆ), ธรรมารมณ์.
  42. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  43. นาคาปโลกิต : นป. การเหลียวดูของช้าง (คือกลับทั้งตัว), ลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  44. นิพฺพิกปฺป : ป. ความเด่น, ความแตกต่าง
  45. ปทาลตา : อิต. เครือดิน, ไม้เถามีลักษณะคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย
  46. ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  47. ปเทสลกฺขณ : นป. ลักษณะที่ปรากฏแต่เพียงบางส่วน, หมายถึงลักษณะของพระโพธิสัตว์ที่มีอยู่แต่เพียงบางประการ
  48. ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
  49. ปรคุณมกฺขลกฺขณ : (วิ.) ผู้มีอันลบหลู่ซึ่งคุณ แห่งบุคคลอื่นเป็นลักษณะ.
  50. ปารท : ป. ปรอท, ธาตุชนิดหนึ่งมีลักษณะเหลวสีคล้ายตะกั่ว
  51. [1-50] | 51-82

(0.0695 sec)