Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลึก , then ลก, ลึก .

Eng-Thai Lexitron Dict : ลึก, more than 7 found, display 1-7
  1. profound : (ADJ) ; ลึก ; Syn:fathomless, bottomless
  2. deep : (ADJ) ; ลึก (เช่น บ่อลึก) ; Related:ลึกจากผิวหน้า, ลึกจากด้านนอก ; Syn:extending far down from the top or surface ; Ant:shallow
  3. deep : (ADJ) ; ลึก (เช่น ตู้ลึก) ; Related:มิติการวัดจากด้านหน้าไปด้านหลัง ; Syn:far
  4. deep : (ADJ) ; ลึก (เช่น บ่อลึก) ; Related:ไกลเข้าไปด้านใน ; Syn:far in or back, far ; Ant:shallow
  5. three-dimensional : (ADJ) ; มี 3 มิติ (กว้าง สูง ลึก)
  6. deep : (ADJ) ; ลึกซึ้ง (เช่น ความคิด, ความรู้) ; Related:ล้ำลึก (ฉลาด) ; Syn:astute, discerning, intelligent ; Ant:superficial
  7. bottomless : (ADJ) ; ลึกมาก
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ลึก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ลึก, more than 7 found, display 1-7
  1. ลึก : (ADV) ; deeply ; Related:profoundly, reconditely ; Syn:ลึกซึ้ง, ลุ่มลึก ; Ant:ตื้น ; Def:หยั่งรู้ได้ยาก ; Samp:เมื่อคิดไปให้ลึกแล้วจะพบว่ามันไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลย
  2. ลึก : (V) ; be deep ; Ant:ตื้น ; Def:ต่ำลงไปจากขอบ, ไกลต่ำลงไปจากผิวหน้าหรือขอบบน , ไกลเข้าไปจากขอบเป็นต้น ; Samp:บ่อน้ำตรงนี้ลึกนะ เด็กๆ อย่าลงไปเล่นตามลำพัง
  3. ลึก : (ADJ) ; deep ; Related:bottomless ; Ant:ตื้น ; Def:ต่ำลงไปจากขอบ, ไกลต่ำลงไปจากผิวหน้าหรือขอบบน , ไกลเข้าไปจากขอบเป็นต้น ; Samp:คูเวตมีชัยภูมิประเสริฐ มีท่าเรือน้ำลึกอยู่ตรงปากทางออก
  4. ดึ่ม : (V) ; be deep ; Syn:ลึก
  5. ลึกซึ้ง : (ADJ) ; profound ; Related:deep, abstruse, recondite, wise ; Def:ลึกยิ่งนัก, ยากที่จะหยั่งถึง ; Samp:ความเข้าใจภาษาของมนุษย์ก็เป็นสิ่งที่ลึกซึ้งเกินกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคสมัยปัจจุบันจะทำได้
  6. ลึกซึ้ง : (ADV) ; profoundly ; Related:deeply, reconditely ; Def:ลึกยิ่งนัก, ยากที่จะหยั่งถึง ; Samp:เราคงไม่ต้องพิจารณาอะไรกันให้ลึกซึ้งนัก
  7. เผินๆ : (ADV) ; superficially ; Related:rough, sketchy, cursory ; Syn:คร่าวๆ, ผ่านๆ, ผิว, ลวกๆ, ผาด, ผิวเผิน ; Ant:ลึก ; Def:อย่างไม่ลึกซึ้ง ; Samp:นกคุ่มตัวเล็กๆ พวกนั้น มองเผินๆ ก็คล้ายลูกไก่เหมือนกัน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ลึก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ลึก, more than 5 found, display 1-5
  1. ลึก : ว. ตํ่าลงไปจากขอบมากกว่าปรกติ เช่น ชามก้นลึก, ไกลตํ่าลงไป จากผิวหน้าหรือขอบบน เช่น ทะเลลึก นํ้าลึก เหวลึก, ไกลเข้าไป จากขอบเป็นต้น เช่น ป่าลึก ซอยลึก; หยั่งรู้ได้ยาก เช่น ความคิดลึก; ตรงข้ามกับ ตื้น.
  2. ลึกซึ้ง : ว. ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ เช่น ปัญหาลึกซึ้ง คิดลึกซึ้ง.
  3. ลึกลือ : ว. ลึกมาก, ไกลมาก, เช่น เก็บของในที่ลึกลือ จอดรถในที่ ลึกลือ.
  4. กินลึก : ว. มีเล่ห์ลึกซึ้ง.
  5. น้ำนิ่งไหลลึก : (สํา) น. คนที่มีท่าหงิม ๆ มักจะมีความคิดลึกซึ้ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ลึก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ลึก, 7 found, display 1-7
  1. คัมภีร์ : ลึกซึ้ง, ตำราที่ยกย่อง เช่นตำราทางศาสนา ตำราโหราศาสตร์
  2. คัมภีรภาพ : ความลึกซึ้ง
  3. จารึก : เขียน, เขียนเป็นตัวอักษร, เขียนรอยลึกเป็นตัวอักษรลงในใบลาน หรือ ลงแผ่นศิลา แผ่นโลหะ
  4. จิตตสันดาน : การสืบต่อมาโดยไม่ขาดสายของจิต; ในภาษาไทยหมายถึง พื้นความรู้สึกนึกคิดหรืออุปนิสัยใจคอที่ฝังอยู่ในส่วนลึกของจิตใจมาแต่กำเนิด (ความหมายนัยหลังนี้ มิใช่มาในบาลี)
  5. ธรรมวิจารณ์ : การใคร่ครวญพิจารณาข้อธรรมต่างๆ ว่าแต่ละข้อมีอรรถคือความหมายอย่างไร ตื้นลึกเพียงไรแล้ว แสดงความคิดเห็นออกมาว่าธรรมข้อนั้นข้อนี้มีอรรถคือความหมายอย่างนั้นอย่างนี้
  6. เมรุ : 1.ชื่อภูเขาที่เป็นศูนย์กลางของจักรวาล บางทีเรียกพระสุเมรุ ตามคติของศาสนาฮินดู ถือว่าเป็นบริเวณที่มีสวรรค์อยู่โดยรอบ เช่น สวรรค์ของพระอินทร์อยู่ทางทิศเหนือ ไวกูณฐ์แดนสถิตของพระวิษณุหรือพระนารายณ์อยู่ทางทิศใต้ ไกลาสที่สถิตของพระศิวะหรืออิศวรก็อยู่ทางทิศใต้เหนือยอดเขาพระสุเมรุนั้น คือ พรหมโลก เป็นที่สถิตของพระพรหม, ภูเขานี้เรียกชื่อเป็นภาษาบาลีว่า สิเนรุ และตามคติฝ่ายพระพุทธศาสนา ในชั้นอรรถกถา ยอดเขาสิเนรุเป็นที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งเป็นที่สถิตของพระอินทร์ เชิงเขาสิเนรุ ซึ่งหยั่งลึกลงไปในมหาสมุทรเป็นอสูรพิภพ สูงขึ้นไปกึ่งทางระหว่างแดนทั้ง๒นั้น เป็นสวรรค์ของท้าวจาตุมหาราช สวรรค์ชั้นอื่นๆ และโลกมนุษย์ เป็นต้น ก็เรียงรายกันอยู่สูงบ้างต่ำบ้าง รอบเขาสิเนรุนี้ (ในวรรณคดีบาลียุดหลัง เช่น จูฬวงส์ พงศาวดารลังกา เรียก เมรุ และสุเมรุ อย่างสันสกฤตก็มี) 2.ที่เผาศพ หลังคาเป็นยอด มีรั้วล้อมรอบ ซึ่งคงได้คติจากภูเขาเมรุนั้น
  7. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลึก, more than 5 found, display 1-5
  1. คหน : ๑. นป. ดง, ป่าทึบ, ป่าชัฏ; ๒. ค. ทึบ, หนา, ลึก, รกชัฏ
  2. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  3. อคาธ : (วิ.) หยั่งไม่ได้, หยั่งไม่ถึง, ลึก, ลึกมาก. นปุพ.โพ, คาธ. ปติฏฐากํขาสุ, อ. ส.อคาธ.
  4. อตลมฺผสฺส : (วิ.) ไม่ยั่งยืน, ลึก, หยั่งไม่ถึง.
  5. คภีร : ค. ลึก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ลึก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ลึก, 3 found, display 1-3
  1. กะทะ, ถาดหิน : กปลฺลปาฏิ [อิ.]; กปลฺลํ, ลกํ [นป.]
  2. โลก : โลโก
  3. อยู่คนเดียวในโลกไม่ได้ : โลเก เอโก ภวิตุ น สกฺโกติ [ํ]

(0.1191 sec)