Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วัตถุบูชา, วัตถุ, บูชา , then บุชา, บูชา, ปูชา, วตถ, วตฺถุ, วัตถุ, วัตถุบูชา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : วัตถุบูชา, 232 found, display 1-50
  1. วตฺถุ : นป. พัสดุ, สิ่งของ, เรื่อง, พื้นที่
  2. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  3. อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
  4. อาหวน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงนำมาบูชา, การบูชา. อาปุพฺโพ, หู หพฺยทาเน, ยุ. อาหวน.
  5. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  6. จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
  7. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  8. ปวีนติ : ก. เคารพ, บูชา, ยกย่อง, ให้เกียรติ
  9. มหติ : ก. นับถือ, บูชา
  10. มาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, บูชา
  11. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  12. อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
  13. อปจินาติ : ก. เคารพ, บูชา, สังเกต, เฝ้าดู, ทำลาย, ขจัด
  14. อรห : (วิ.) ควร, สมควร, บูชา, เคราพ, นับถือ.อรหฺปูชายํ, อ.ส.อรฺห.
  15. ปูชา : อิต. ดู ปูชนา
  16. ฆรพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกคือเรือน, วัตถุ เป็นเครื่องผูกคือเรือน. วิ. ฆรํ เอว พนฺธนํ ฆรพนฺธนํ.
  17. ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
  18. เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
  19. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  20. ปูเชติ : ก. บูชา
  21. อญฺจติ : ก. ๑. ถึงความพินาศ ๒. บูชา
  22. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  23. ทานวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุสำหรับให้, วัตถุสำหรับให้ทาน, ทานวัตถุ. ทานวัตถุมี ๑๐ อย่าง คือ อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธํ (นับ ๒) วิเลปนํ เสยฺยาวสถํ (นับ ๒), ปทีเปยฺยํ.
  24. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  25. กปฺปิยวตฺถุ : (นปุ.) สิ่งของอันสมควร, ฯลฯ, กัปปิยวัตถุ สิ่งของที่ภิกษุบริโภคได้ หรือ ใช้ได้ ไม่ผิดพระวินัย.
  26. กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
  27. ญาณวตฺถุ : นป. ญาณวัตถุ, หัวข้อแห่งญาณ
  28. โพธิปูชา : อิต. การบูชาต้นโพธิ
  29. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  30. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  31. กณโหม : นป. การเผารำบูชา, การทำพิธีซัดรำบูชาไฟ
  32. กตุ : (ปุ.) การบูชา, การบูชายัญ, ยัญ. วิ. สคฺคตฺถิเกหิ กรียตีติ กตุ (อันคนผู้ต้องการสวรรค์ทำ). กรฺ กรเณ, ตุ. กตฺตก
  33. กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
  34. กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
  35. กสิณมณฺฑล : นป. วัตถุกลมๆ เช่น กระด้ง สำหรับเพ่งเวลาทำกัมมัฏฐาน
  36. กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
  37. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  38. กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
  39. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  40. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  41. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  42. ขุทฺทช : (นปุ.) วัตถุอันเกิดจากผึ้ง, น้ำผึ้ง.
  43. คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
  44. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  45. คุรุทกฺขิณา : อิต. การทำทักษิณาให้แก่ครู, การบูชาครู
  46. ฆฏาทิสกล : (ปุ. นปุ.) ส่วนแห่งวัตถุมีหม้อ เป็นต้น.
  47. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  48. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  49. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  50. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-232

(0.0725 sec)