Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ศัพท์เฉพาะ, เฉพาะ, ศัพท์ , then ฉพา, เฉพาะ, ศพท, ศัพท์, ศัพท์เฉพาะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ศัพท์เฉพาะ, more than 7 found, display 1-7
  1. very : (ADJ) ; เฉพาะ ; Related:เท่านั้น ; Syn:mere
  2. lexicon : (N) ; ศัพท์เฉพาะสาขา
  3. buzzword : (SL) ; คำศัพท์เฉพาะ ; Related:ศัพท์เทคนิค
  4. odontalgia : (N) ; อาการปวดฟัน (คำศัพท์เฉพาะทาง) ; Syn:toothache
  5. papilla : (N) ; หัวนม (ศัพท์เฉพาะทาง) ; Syn:nipple, teat, udder
  6. tarsus : (N) ; กระดูกข้อเท้า (ศัพท์เฉพาะทางแพทย์) ; Related:ฝ่าเท้า ; Syn:ankle
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ศัพท์เฉพาะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ศัพท์เฉพาะ, more than 7 found, display 1-7
  1. ศัพท์เฉพาะ : (N) ; technical term ; Syn:คำศัพท์เฉพาะ ; Samp:ผู้เขียนต้องศึกษาศัพท์เฉพาะเหล่านี้มาเป็นอย่างดีแล้ว ; Unit:คำ, ศัพท์
  2. ศัพท์เฉพาะ : (N) ; terminology ; Related:technical terms ; Ant:ศัพท์ทั่วไป
  3. ศัพท์เทคนิคเฉพาะ : (N) ; jargon ; Syn:ศัพท์เฉพาะ, คำเฉพาะ ; Def:คำที่ใช้เฉพาะภายในกลุ่มบุคคลในวงการใดวงการหนึ่งที่บุคคลอื่นอาจไม่เข้าใจ ; Samp:พ่อแม่ครูอาจารย์ไม่มีข้อมูลความรู้ความเข้าใจในศัพท์เทคนิคเฉพาะของการเล่นพนันบอล ; Unit:คำ
  4. ศัพท์ : (N) ; vocabulary ; Related:word, term, glossary, terminology ; Syn:คำศัพท์, คำยาก ; Def:คำยากที่ต้องแปลหรืออธิบายเพิ่มเติม ; Samp:พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์รวบรวมศัพท์ที่ใช้อยู่ในสาขาคอมพิวเตอร์ ; Unit:คำ
  5. เฉพาะ : (ADV) ; specifically ; Related:especially, particularly ; Syn:จำกัด, เท่านี้, เท่านั้น ; Samp:การศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ในเรื่องทางจิตวิทยาจะศึกษาเฉพาะสิ่งที่ผู้ศึกษาทำการสังเกตได้เท่านั้น
  6. เฉพาะ : (V) ; be specific ; Related:be particular, be peculiar to, be limited ; Syn:โดยเจาะจง, เพ่งตรง, ตรงตัว ; Ant:โดยรวม ; Samp:ที่นั่งตรงนี้เขาเฉพาะไว้สำหรับพระภิกษุและคนชราเท่านั้น
  7. คำศัพท์ : (N) ; vocabulary ; Related:glossary, word ; Syn:ศัพท์ ; Def:คำยากที่ต้องแปลหรืออธิบายเพิ่มเติม ; Samp:เด็กสามารถท่องจำคำศัพท์ได้เพิ่มขึ้นด้วยการเล่นเกม ; Unit:คำ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ศัพท์เฉพาะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. เฉพาะ : [ฉะเพาะ] ว. โดยเจาะจง, เพ่งตรง, ตรงตัว; เผอิญ; แต่; จํากัด, เท่านี้, เท่านั้น. (ข. เฉฺพาะ).
  2. ศัพท์เฉพาะวิชา : น. คำที่ตราหรือกำหนดขึ้นใช้ในแต่ละวิชา เช่น ปฏิชีวนะ ประสบการณ์ มลพิษ.
  3. ศัพท, ศัพท์ : [สับทะ, สับ] น. เสียง เช่น โทรศัพท์, คำ เช่น ศัพท์บัญญัติ; คำยาก ที่ต้องแปล, ศัพท์แสงก็ว่า; เรื่อง เช่น ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด. (ส. ศพฺท; ป. สทฺท ว่า เสียง, คํา).
  4. เฉพาะกิจ : ว. เจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น หน่วยปราบปรามเฉพาะกิจ.
  5. เฉพาะตัว : ว. เฉพาะบุคคล, ส่วนตัว.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. ศัพท์ : เสียง, คำ, คำยากที่ต้องแปล, คำยากที่ต้องอธิบาย
  2. สดับปกรณ์ : “ ๗ คัมภีร์” หมายถึงคัมภีร์พระอภิธรรมทั้ง ๗ ในพระอภิธรรมปิฎก เขียนเต็มว่า สัตตัปปกรณ์ (ดู ในคำว่า ไตรปิฎก)แต่ในภาษาไทยคำนี้ความหมายกร่อนลงมา เป็นคำสำหรับใช้ในพิธีกรรม เรียกกิริยาที่พระภิกษุกล่าวคำพิจารณาสังขารเมื่อจะชักผ้าบังสุกุลในพิธีศพเจ้านายว่า สดับปกรณ์ ตรงกับที่เรียกในพิธีศพทั่วๆ ไปว่า บังสุกุล (ซึ่งก็เป็นศัพท์ที่มีความหมายกร่อนเช่นเดียวกัน), ใช้เป็นคำนาม หมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลในงานศพ ปัจจุบันใช้เฉพาะศพเจ้านาย
  3. เอกเสสนัย : อาการกำหนดด้วยเหลือศัพท์เดียว, เป็นวิธีการอย่างหนึ่งในไวยากรณ์บาลี กล่าวคือ บุคคล วัตถุ หรือภาวะบางอย่าง เป็นของควบคู่กันมาด้วยกันเสมอ เมื่อเห็นอย่างหนึ่งก็เป็นอันรู้ถึงอีกอย่างหนึ่งด้วย หรือเป็นของชุดเดียวกัน จำพวกเดียวกัน เมื่อเรียกอย่างหนึ่ง จะหมายถึงอย่างหนึ่งอย่างใดในชุดหรือในจำพวกนั้นก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ บางทีท่านกล่าวถึงหรือออกชื่อไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เพียงอันเดียวให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังหมายรู้อีกอย่างหนึ่งด้วย หรือให้เข้าใจเอาเอง จากข้อความแวดล้อมว่า ในที่นั้น หมายถึงอย่างไหนข้อใดในชุดหรือในจำพวกนั้น จึงเรียกว่า เหลือไว้อย่างเดียว หรือเหลือไว้ศัพท์เดียว เช่น พูดอย่างคำบาลีว่า พระสารีบุตรทั้งหลาย ก็หมายถึง พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ หรือในหลักปฏิจจสมุปบาท คำว่า นามรูป เป็นเอกเสสหมายถึง นามหรือรูป หรือทั้งนามและรูป คำว่า สฬายตนะ ก็เป็นเอกเสส หมายถึง อายตนะที่ ๖ ก็ได้ อายตนะทั้ง ๖ ก็ได้ ดังนั้น เมื่อพูดว่านามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ ถ้าหมายถึงอรูปภพก็ต้องแปลความว่า นามเป็นปัจจัยให้เกิดอายตนะที่ ๖ (คือมโน) อนึ่ง เมื่อสิ่งอื่นในชุดเดียวกัน มีคำเฉพาะระบุชัดอยู่แล้ว คำที่เป็นชื่อรวมๆ ของชุด ก็ย่อมหมายถึงสิ่งที่ยังไม่ถูกระบุด้วยคำอื่น เช่น ในคำว่า สุคติ (และ) โลกสวรรค์ สวรรค์เป็นสุคติ แต่มีคำเฉพาะระบุไว้แล้ว ดังนั้น คำว่าสุคติในกรณีนี้จึงหมายถึง โลกมนุษย์ ซึ่งเป็นสุคติอย่างเดียวที่เหลือนอกจากสวรรค์
  4. อุทิศ : เฉพาะ, เจาะจง, เพ่งเล็งถึง, ทำเพื่อ; แผ่ส่วนบุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี
  5. วิสามัญ : แปลกจากสามัญ, ไม่ใช่ธรรมดา, ไม่ทั่วไป, เฉพาะ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more than 5 found, display 1-5
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  3. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  4. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  5. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ศัพท์เฉพาะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ศัพท์เฉพาะ, not found

(0.2246 sec)