Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สม .

Eng-Thai Lexitron Dict : สม, more than 7 found, display 1-7
  1. it figures : (IDM) ; สมเหตุสมผล ; Related:สมควรเป็นอย่างนั้น
  2. It figures. : (IDM) ; สมเหตุผล ; Related:ไม่น่าแปลกใจ
  3. serve right : (PHRV) ; สมน้ำหน้า ; Related:สมควรแล้ว
  4. serve someone right : (IDM) ; สมน้ำหน้า
  5. become : (VT) ; เหมาะสม ; Related:เหมาะสมกับ, เข้ากับ ; Syn:suit
  6. fit with : (PHRV) ; ตระเตรียม...ที่มีขนาดและรูปร่างเหมาะสม ; Related:ติดตั้งอุปกรณ์ที่เหมาะสม
  7. juggle : (VT) ; จัดสรรเวลาทำงานและชีวิตส่วนตัวให้เหมาะสม ; Related:ปรับให้เหมาะสม
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : สม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สม, more than 7 found, display 1-7
  1. สม : (V) ; be well matched ; Related:be suitable for each other ; Syn:เหมาะ, เหมาะสม ; Samp:คู่บ่าวสาวคู่นี้สมกันดี
  2. สมน้ำหน้า : (V) ; serve someone right ; Related:get (what) one deserves ; Syn:สม ; Def:เหมาะสมแล้วที่ได้รับผลร้ายเช่นนั้น, เหมาะกับที่ทำเช่นนั้น ; Samp:ญาติๆ พากันสมน้ำหน้าที่เธอไม่ยอมเชื่อฟังแต่แรก
  3. สาสม : (ADV) ; adequately ; Related:sufficiently, properly ; Syn:สม ; Def:อย่างเพียงพอหรือเหมาะสม ; Samp:เธอได้รับผลตอบแทนอย่างสาสมกับความเหนื่อยยากของเธอที่อุทิศให้บริษัท
  4. สมฐานะ : (V) ; be suitable for one's rank or standing ; Syn:สมหน้า, สมเกียรติ ; Def:สมควรแก่ฐานะ, สมควรแก่เกียรติยศ ; Samp:เขามีบ้านใหญ่โตสมฐานะของเขา
  5. สมศักดิ์ศรี : (V) ; deserve one's dignity ; Related:be suitable for one's rank, be worthy of one's dignity ; Syn:สมศักดิ์ ; Def:สมควรแก่เกียรติยศชื่อเสียง ; Samp:เขาคิดว่านี่เป็นงานต่ำ ไม่สมศักดิ์ศรีลูกผู้ดีอย่างเขา
  6. สมกัน : (V) ; fit ; Related:be suitable, be proper, be appropriate ; Syn:เหมาะสม, คู่ควร ; Def:มีคุณค่าเหมาะกัน ; Samp:สามีภรรยาคู่นี้เขาสมกันอย่างกับกิ่งทองใบหยก
  7. สมประกอบ : (V) ; be physically complete ; Related:be uncrippled ; Def:มีส่วนประกอบเหมาะกันดี, มีส่วนประกอบครบถ้วนดี มักใช้แก่ร่างกายที่มีอวัยวะเป็นปกติ และใช้ในความปฏิเสธเป็นส่วนมากว่า ไม่สมประกอบ ; Samp:หมอจะแทงเรื่องว่าเขาไม่สมประกอบก็สามารถพ้นทหารได้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สม, more than 5 found, display 1-5
  1. สม : [สะมะ, สมมะ, สม] ว. เท่ากัน, เสมอกัน.
  2. สม : ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสม ฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้ แต่งตัวไม่สมวัย, รับกัน เช่น หัวแหวนสมกับเรือนแหวน; ตรงกับ เช่น สมคะเน สมปรารถนา สมความตั้งใจ. (ปาก) สมน้ำหน้า เช่น สมแล้ว ที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.
  3. สม : ใช้ประกอบกับคำกริยาบางคำมีความหมายว่า ร่วมด้วยกัน รวมกัน เช่น สมคิด สมรู้.
  4. สมน้ำหน้า : ว. คําแดกดันหรือซํ้าเติมว่าควรได้รับผลร้ายเช่นนั้น เช่น ขี้เกียจท่องหนังสือ สอบตกก็สมน้ำหน้า, (ปาก) สม ก็ว่า เช่น สมแล้ว ที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.
  5. สมน้ำสมเนื้อ : ว. พอเหมาะพอดีกัน เช่น ขิงก็ราข่าก็แรง สมน้ำสมเนื้อ กันดีแล้ว.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สม, more than 5 found, display 1-5
  1. สมนุภาสนา : การสวดสมนุภาสน์, สวดประกาศห้ามไม่ให้ถือรั้นการอันมิชอบ
  2. สมสีสี : บุคคลผู้สิ้นอาสวะพร้อมกับสิ้นชีวิต คือ บรรลุอรหัตตผล ในขณะเดียวกับที่สิ้นชีวิต; นี้เป็นความหมายหลักตามพระบาลี แต่ในมโนรถปูรณี อรรถกถาแห่งอังคุตตรนิกาย ให้ความหมายสมสีสี ว่าเป็นการสิ้นอาสวะพร้อมกับสิ้นอย่างอื่นอันใดอันหนึ่งใน ๔ อย่าง และแสดงสมสีสีไว้ ๔ ประเภท คือ ผู้สิ้นอาสวะพร้อมกับหายโรค เรียกว่า โรคสมสีสี ผู้สิ้นอาสวะพร้อมกับที่เวทนา ซึ่งกำลังเสวยอยู่สงบระงับไปเรียกว่า เวทนาสมสีสี ผู้สิ้นอาสวะพร้อมกับการสิ้นสุดของอิริยาบถอันใดอันหนึ่ง เรียกว่า อิริยาบถสมสีสี ผู้สิ้นอาสวะพร้อมกับสิ้นชีวิต เรียกว่า ชีวิตสมสีสี สมสีสีในความหมายหลักข้างต้น ก็คือ ชีวิตสมสีสี; อย่างไรก็ดีในอรรถกถาแห่งปุคคลปัญญัติ เป็นต้น แสดงสมสีสีไว้ ๓ ประเภท และอธิบายต่างออกไปบ้าง ไม่ขอนำมาแสดงในที่นี้ เพราะจะทำให้ฟั่นเฝือ
  3. สมโจร : เป็นใจกับโจร
  4. สมชีวิตา : มีความเป็นอยู่พอเหมาะพอดี คือเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กำลังทรัพย์ที่หาได้ ไม่ฝืดเคืองนัก ไม่ฟูมฟายนัก (ข้อ ๔ ในทิฏฐธัมมิกัตถะ)
  5. สมถกัมมัฏฐาน : กรรมฐานคือสมถะ, งานฝึกจิตให้สงบ ดู สมถะ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สม, more than 5 found, display 1-5
  1. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  2. สมตุล : (นปุ.) ความเสมอกัน, ความเท่ากัน, ความพอดีกัน, ความสมส่วนกัน, สมดุล. สม+ตูล.
  3. สมภาคี : (วิ.) มีส่วนเสมอ, ฯลฯ. สม+ภาค+อี ปัจ. ตทัสสตถิตัท.
  4. สมตึส : (อิต.) สามสืบเสมอ, ความสิบครบ, สมดึงส์.
  5. สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สม, more than 5 found, display 1-5
  1. สมฐานะ : ฐานานุรูป
  2. สมบุรณ์ : สมฺปนฺโน
  3. สมหน้าสมตา : อตฺตโน ฐานานุรูปํ
  4. ปฏิบัติให้สมควรเหมาะสม : ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ
  5. ประพฤติเหมาะสม : สภาควุตฺติ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สม, more results...

(0.0579 sec)