Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สมัยโบราณ, โบราณ, สมัย , then โบราณ, โปราณ, สมย, สมัย, สมัยโบราณ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สมัยโบราณ, 95 found, display 1-50
  1. ปโปต : (ปุ.) สำเภา เรือสำเภา ชื่อเรือเดินทะเล สมัยโบราณ. โปตเรือเล็ก ปโปตเรือใหญ่ คือเรือสำเภา.
  2. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  3. สยวร : (ปุ.) สยมพร สยัมพร สยุมพร ชื่อพิธีการเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ การเลือกคู่ของนางกษัตริย์สมัยโบราณ.
  4. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  5. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  6. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  7. กาลนฺตร : นป. ระหว่างกาลเวลา, กาล, สมัย
  8. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  9. ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
  10. เวลา : อิต. กาล, คราว, สมัย
  11. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  12. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  13. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  14. จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
  15. ชมฺพูทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อประเทศอินเดีย โบราณ.
  16. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  17. จีวรกาลสมย : ป. สมัยจีวรกาล, คราวที่ทรงอนุญาตให้ (พระภิกษุสงฆ์) รับจีวรได้
  18. จีวรทานสมย : ป. สมัยถวายจีวรในจีวรกาล
  19. ปุพฺพณฺหสมย : (ปุ.) สมัยเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, ฯลฯ.
  20. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  21. มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  22. มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
  23. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  24. อสมย : ป. ไม่ใช่สมัย, ไม่ใช่เวลา
  25. กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
  26. กลิยุคฺค : ป. กลียุค, สมัยที่ทุกข์ยาก, ยุคร้าย
  27. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  28. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  29. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  30. กาลิงฺค : (ปุ.) กาลิงคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. กลฺ สทฺเท, อิงฺโค.
  31. กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
  32. กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
  33. โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
  34. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  35. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  36. ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
  37. ชีรณฏีกา : (อิต.) ฎีกาเก่า, ฎีกาโบราณ.
  38. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  39. ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
  40. ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
  41. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  42. ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.
  43. โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
  44. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  45. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  46. ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  47. ปรมฺปร : (วิ.) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, นานมา, โบราณนานมา.
  48. ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
  49. ปารายณิก : ค. ผู้เรียนเรื่องโบราณ, นักศึกษาโบราณคดี
  50. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  51. [1-50] | 51-95

(0.0675 sec)