Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สย , then ศย, สย .

Eng-Thai Lexitron Dict : สย, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : สย, 2 found, display 1-2
  1. เสี่ย : (N) ; wealthy Chinese ; Related:rich man ; Syn:อาเสี่ย ; Def:ชายร่ำรวย, ชายที่มีฐานะจับจ่ายเงินคล่อง ; Samp:ตำรวจได้เข้าตรวจค้นไร่ของเสี่ยคนดังแห่งเมืองกาญจนบุรี เพื่อหาไม้เถื่อน
  2. อาเสี่ย : (N) ; rich Chinese merchant ; Syn:เสี่ย ; Samp:ครอบครัวของเขาแม้จะไม่ร่ำรวยถึงขั้นเป็นเถ้าแก่ หรืออาเสี่ย แต่เขาก็พึงพอใจในสภาพที่เป็นอยู่ ; Unit:คน

Royal Institute Thai-Thai Dict : สย, 5 found, display 1-5
  1. อนุสัย : น. กิเลสที่สงบนิ่งอยู่ในสันดาน, กิเลสอย่างละเอียด มี ๗ อย่าง ได้แก่ ๑. กามราคะ = ความกำหนัดในกาม ๒. ปฏิฆะ = ความ ขัดใจคือโทสะ ๓. ทิฏฐิ = ความเห็นผิด ๔. วิจิกิจฉา = ความลังเล สงสัย ๕. มานะ = ความถือตัว ๖. ภวราคะ = ความกำหนัดในภพ ๗. อวิชชา = ความไม่รู้แจ้งคือโมหะ. (ป. อนุสย; ส. อนุศย).
  2. กมล- , กมลา : [กะมะละ-, กะมะ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).
  3. อดิศัย : [อะดิไส] ว. เลิศ, ประเสริฐ. (ส.; ป. อติสย).
  4. นิรัติศัย : [รัดติไส] (แบบ) ว. พิเศษยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. (ส. นิรฺ + อติศย). นิรันดร, นิรันตร [รันดอน, รันตะระ] ว. ตลอดไปไม่เว้นว่าง, ติดต่อกันตลอดไป. (ป.).
  5. พลาดิศัย : ว. มีกําลังยิ่ง. (ส. พล + อติศย).

Budhism Thai-Thai Dict : สย, 2 found, display 1-2
  1. ศีล ๑๐ : สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดศรัทธาจะรักษาก็ได้ หัวข้อเหมือนศีล ๘ แต่แยกข้อ ๗ เป็น ๒ ข้อ (= ๗-๘) เลื่อนข้อ ๘ เป็น ๙ และเติมข้อ ๑๐ คือ ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง ฯลฯ ๘.เว้นจากการทัดทรงดอกไม้ ฯลฯ ๙.เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ ฯลฯ ๑๐.เว้นจากการรับทองและเงิน; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่าง) ว่า ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา- ๘.มาลาคนฺธวิเลปน ธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๙.อุจฺจาสยนมหาสยนา- ๑๐.ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา- (คำต่อท้าย เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยมิ เหมือนกันทุกข้อ); ดู อาราธนาศีล ด้วย
  2. ศีล ๘ : สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่น แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือนศีล ๕ แต่เปลี่ยนข้อ ๓ และเติมข้อ ๖-๗-๘ คือ ๓.เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี ๖.เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอม และเคลื่องลูบไล้ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง ๘.เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ หรูหราฟุ่มเฟือย; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่างจากศีล ๕) ว่า ๓.อพฺรหฺมจริยา- ๖.วิกาลโภชนา- ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๘.อุจฺจาสยนมหาสยนา- (คำต่อท้ายเหมือนข้อ ๑ ในศีล ๕); ดู อาราธนาศีล ด้วย

ETipitaka Pali-Thai Dict : สย, more than 5 found, display 1-5
  1. สย : (ปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สโย.
  2. สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
  3. สย : (อัพ. นิบาต) เอง, ด้วยตนเอง, โดยตนเอง, อันตนเอง. ใช้เป็นประธานก็มี แปลว่า อ. ตนเอง ที่เป็นราชาศัพท์ แปลว่า อ. พระองค์ หรือ อ. พระองค์เอง.
  4. สยกต : (วิ.) อันตนเองกระทำแล้ว, กระทำแล้วด้วยตนเอง. วิ. สยํ กตํ สยํกตํ. ต. ตัป.
  5. สยนิฆร : นป. ห้องนอน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สย, not found

(0.1328 sec)