Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สลัด , then สลด, สลัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สลัด, 35 found, display 1-35
  1. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  2. อุสฺสชฺชติ : ก. สละ, สลัด, ปล่อย
  3. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  4. สาฬว : ป. สลัด
  5. ธุรนิกฺเขป : ป. การเลิกงาน, การทอดทิ้งธุระ, การสลัดแอก
  6. นิจฺฉรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
  7. นิจฺฉาเรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, เปล่งออก, พูด
  8. นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
  9. นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
  10. นิทฺธุน, นิทฺธุนน : นป. การกำจัด, การถอนออก, การสลัดออก
  11. นิทฺธุนาติ : ก. กำจัด, ถอนออก, สลัดออก
  12. นิธูน นิธูนน : (นปุ.) การสลัดมือ. นิปุพ.โพ, ธู วิธูนเน, โน
  13. ปฏินิสฺสคฺค : ป. การสละคืน, การสลัดทิ้ง, การละเลิก
  14. ปฏินิสฺสคฺคี : ค. ซึ่งสละคืน, ซึ่งสลัดทิ้ง, ซึ่งละเลิก; ซึ่งสละได้ (ยากหรือง่าย)
  15. ปฏินิสฺสชฺชติ : ก. สละคืน, สลัดทิ้ง, ละเลิก
  16. ปฏินิสฺสฏฺฐ : กิต. (อันเขา) สละคืนแล้ว, สลัดทิ้งแล้ว, ละเลิกแล้ว, สละแล้ว
  17. ปมุตฺต : ค. ผู้ถูกปลดปล่อย, ผู้ถูกเหวี่ยง, ผู้ถูกสลัดไปแล้ว; ผู้หลุดพ้น, ผู้เป็นอิสระ
  18. อภินิสฺสฏ : กิต. หนีไป, สลัดออก
  19. อวกโรติ : ก. ทำให้เสื่อม, ดูหมิ่น, สลัดทิ้ง
  20. อวกิริย : ๑. กิต. เกลี่ยแล้ว, โปรยแล้ว ๒. ค. ทิ้ง, ถูกสลัดทิ้ง, น่าชัง
  21. อาธุนาติ : ก. ฝัดออก, สลัดออก
  22. อุกฺเขฏิต : กิต. ถ่มน้ำลายแล้ว, สลัดทิ้งแล้ว; สะดุ้งแล้ว
  23. อุปกฺขิตฺตก : ค. ถูกทิ้ง, ถูกสลัดออก
  24. โอกิรณ : นป. การโปรย, การหว่าน, การทำให้เรี่ยราด; การตัดออก, การสลัดทิ้ง
  25. โอธุนาติ : ก. สลัดทิ้ง, ขจัดออก, เปลื้อง
  26. โอมุกฺก : ค. ซึ่งเขาแก้ออก, ซึ่งเขาสลัดออก, ซึ่งเขาละทิ้ง
  27. สเวเชติ : ก. สลด
  28. ธมฺมสเวค : ป. ธรรมสังเวช, การสลดใจโดยธรรม (คือปลงตก)
  29. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  30. วิสาท : ป. ความเศร้าใจ, ความสลดใจ, ความตกต่ำ
  31. สวิคฺค : กิต. สลดใจแล้ว, ตื่นเต้นแล้ว
  32. สวิคฺคมานส : ค. มีใจสลดแล้ว
  33. สเวค : ป. ความสลดใจ
  34. สเวชนิย : ค. ควรสลดใจ
  35. อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
  36. [1-35]

(0.0091 sec)