Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สาม , then สาม, สามะ, สามา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สาม, 143 found, display 1-50
  1. สาม : (วิ.) ดำ, ดำคล้ำ, เขียว, เขียวคราม, เหลือง.
  2. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  3. สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
  4. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  5. สาม : (อัพ. นิบาต) เอง, โดยลำพัง, โดยตนเอง, ด้วยตนเอง. อภิฯ ลงใน สยตฺถ รูปฯ ลงในตติยตฺถ.
  6. สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
  7. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  8. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  9. สามณก : ค. อันสมควรแก่สมณะ
  10. สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
  11. สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
  12. กาฬสาม : (ปุ.) ดำคล้ำ (สี...), สีดำคล้ำ.
  13. สาม : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
  14. สามสาม : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามสามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  15. สาม : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
  16. สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
  17. อสฺสามณก : (วิ.) ไม่ควรแก่สมณะ, ไม่ใช่กิจของสมณะ.
  18. อิสฺสามนก : ค. ผู้มีใจริษยา
  19. สาม : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
  20. จตุตึส จตุตฺตึส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยสี่, สาม สิบสี่.
  21. อฏฺฐตฺตีส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยแปด, สาม สิบแปด.
  22. เอกูนตึส : (อิต.) สามสิบหย่อนด้วยหนึ่ง, สาม สิบหย่อนหนึ่ง, ยี่สิบเก้า. วิ. เอเกน อูนา ตึส เอกูนตึส. ต. ตัป.
  23. กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
  24. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  25. ตติยฌาน : (นปุ.) ฌานที่สาม, ฌานอันดับที่ สาม.
  26. ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
  27. ติก : (วิ.) สาม. ติ ศัพท์ ก สกัด มีประมาณสาม ติ+ ก ปัจ.
  28. ติโลกเกตุ : (ปุ.) ธงในโลกสาม, ธงชัยในโลก สาม.
  29. กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
  30. กติปาห : (นปุ.) วันเล็กน้อย (สองสามวัน).
  31. กติปาห : ก. วิ. สองสามวัน
  32. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  33. กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
  34. กุปก : (ปุ.) เสากระโดง. กปุ สามตฺถิยํ, อ. ก สกัด.
  35. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  36. โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
  37. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  38. จตุตฺถภตฺต : นป. ภัตที่พึงบริโภคในวันที่สี่ (หลังจากที่ได้ถือพรตมาตลอดแล้วสามวัน), อาหารที่บริโภคทุกๆ สี่วัน
  39. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  40. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  41. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  42. ตติย : ก. วิ. ครั้งที่สาม, คำรบสาม
  43. ตติยคุณ : (ปุ.) คุณชั้นที่สาม, คุณนามชั้นที่ สาม, คือ อติวิเสส.
  44. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  45. ตยี : (อิต.) เวทสาม วิ. ตโย อวยวา อสฺสาติ ตยี. ตโย เวทา ตยี นาม. เป็น ตยิ ก็มี.
  46. ติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสามครั้ง, สิ้นสาม คราว, สิ้นสามหน. ติ+กฺขตฺตํ ปัจ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็น กิริยาวิเสสว่า สามครั้ง, สามคราว, สามหน.
  47. ติกฺขตฺตุ : อ. สามครั้ง, สามคราว
  48. ติกฏุก : นป., ค. ของเผ็ดร้อนสามอย่าง ดู กฏุก
  49. ติก, ติกกฏุก : นป., ค. หมวดสาม, อย่างละสาม, ประกอบด้วยสาม
  50. ติคาวุต : ค. ประมาณสามคาวุต
  51. [1-50] | 51-100 | 101-143

(0.0270 sec)