Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สุข , then ศุข, สข, สุข, สุขะ, สุขา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สุข, 90 found, display 1-50
  1. สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
  2. สุขปฏิสเวที : ค. ผู้เสวยความสุข
  3. สุขปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข.
  4. สุขวาหี : (วิ.) ให้ถึงซึ่งความสุขโดยปกติ, ฯลฯ.
  5. สุขภาว : (ปุ.) ความเป็นสุข, สุขภาพ.
  6. สุขสวาส : (วิ.) มีการอยู่ร่วมเป็นสุข.
  7. กามสุข : นป. กามสุข, ความสุขทางกาม, โลกียสุข
  8. คิหิสุข : นป. สุขของคฤหัสถ์
  9. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  10. นิรามิสุข : (นปุ.) สุขมีเหยื่อออกแล้ว, ฯลฯ, นิรามิสุข สุขไม่มีอามิสคือเป็นสุขอยู่เอง. ไม่ต้องมีสิ่งใดเป็นเครื่องล่อใจ เป็นสุขของ พระอรหันต์.
  11. ปีติสุข : นป. ปีติและสุข
  12. พทฺท : (วิ.) งาม, ดี, เจริ, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, สุข, สบาย, สำราญ. ภทิ กลฺยาเณ, โท. แปลง ภ เป็น พ.
  13. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  14. มตฺตาสุข : นป. สุขพอประมาณ
  15. มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
  16. สมานสุขทุกฺข : (ปุ.) มิตรผู้มีสุขและทุกข์เสมอกัน, มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์.
  17. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  18. อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
  19. อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
  20. กณฺณสุข : (วิ.) เพราะหู, ไพเราะหู, สบายหู, เสนาะหู, สะดวกแก่หู, สะดวกหู.
  21. มิฬฺหสุข : (นปุ.) เมถุน.
  22. ยถาสุข : ก. วิ. ตามสะดวกสบาย, อย่างสะดวกสบาย
  23. สุสุข : (วิ.) สบายดี, สำราญดี.
  24. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  25. สพฺพจ : (วิ.) อัน...พึงรู้ตามได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงสอนได้โดยง่าย. วิ. สุเขน วจิตพพฺโพติ สุพฺพโจ. สุข ปุพฺโพ, วจฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โข, วสฺสโพ, พสํโยโค.
  26. สาต : (วิ.) จืด, หวาน, อร่อย, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, พึงใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน, สุข. ส. ศาต.
  27. สาท : (วิ.) หวาน, อร่อย, ฯลฯ, เพลิน, สุข.
  28. สุขาวห : (วิ.) นำมาซึ่งความสุข, ฯลฯ. สุข+อาวห.
  29. โสขฺย : (นปุ.) ความสุข, ฯลฯ. สุข+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  30. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  31. สข, สขี : ป. เพื่อน
  32. อทุกฺขมสุข : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  33. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  34. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  35. สุข : (วิ.) ผู้มีสุข, ผู้มีความสุข, ฯลฯ.
  36. กลฺยตา : อิต. ความเป็นผู้มีสุขถาพดี, ความเป็นที่น่ายินดี
  37. กามปฏิสนฺธิสุข : ค. ผู้มีสุขด้วยการถือปฏิสนธิในกามภพ
  38. กามานุสารี : ค. ผู้ระลึกถึงกามเป็นนิตย์, ผู้ใฝ่ใจในความสุขทางกาม
  39. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  40. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  41. ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
  42. - ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
  43. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  44. ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
  45. ทิพฺพสมฺปตฺติ : อิต. ทิพยสมบัติ, สมบัติอันเป็นทิพย์, สมบัติของเทวดา, ความสุขในสวรรค์
  46. นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
  47. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  48. นิรย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ประเทศมีความเจริญไปปราศแล้ว, ประเทศไม่มีความเจริญ, ประเทศปราศ จากความเจริญ, ภพไม่มีความเจริญ, ภพไม่มีความสุข, โลกไม่มีความเจริญ, โลกไม่มีความสุข. วิ. อโย อิฏฐผลํ, โส นิคฺคโต อสฺมสติ นิรโย. ร. อาคม. นินฺทิโต รโย คมน เมตฺถาติ วา นิรโย. อภิฯ. นิคฺคโต อโย อสฺมสติ นิรโย. นิคฺคโต อโย ยสฺมาโส นิรโย. นตฺถิ อโย เอตฺถาติ วา นิรโย. รูปฯ ส. นิรย.
  49. ปฏิสเวที : ค. ผู้ทราบชัด, ผู้รู้สึก, ผู้เสวย (เวทนา), ผู้ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  50. ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  51. [1-50] | 51-90

(0.0681 sec)