Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สูญ , then สญ, สุญ, สูญ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สูญ, 36 found, display 1-36
  1. อตฺถ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม, สูญ, หาย, ฉิบหายพินาศ. นปุพฺโพ, ถา คตินิวตฺถิยํ, อ, ตฺสํโยโค.
  2. อทสฺสน : (วิ.) ไม่เห็น, หาย, สูญ, หายสูญ, หายไป, เสื่อม, พินาศ.
  3. กถาน : (นปุ.) กถานะ ชื่อมาตรานับ เท่ากับ เลข ๑ มีสูญ ๑๒๖ สูญ.
  4. : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สูญ.
  5. นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
  6. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  7. มหากถาน : (นปุ.) มหากถานะ ชื่อมาตรานับเท่ากับ เลข ๑ มีสูญ ๑๓๓ สูญ. มหนฺตปุพฺโพ, กถฺ วากฺยปฺปพนฺเธ, ยุ. ทีโฆ จ.
  8. มหาปทุม : (นปุ.) ล้านโกฏิ, มหาปทุม ชื่อมาตรานับเลข ๑ มีสูญ ๑๒ สูญ.
  9. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  10. โสคนฺธิก : (นปุ.) โสคันธิกะ ชื่อมาตรานับร้อย คูณแสน อัฎฎะ. เลข ๑ มีสูญ ๙๑ สูญ.
  11. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  12. อฏฏ : (นปุ.) อฎฎะ ชื่อมาตรานับต่อจาก อพพะเลข ๑ มีสูญ ๒๘ สูญ.อฎฺ คติยํ. โฎ.
  13. ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
  14. ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
  15. นฏฺฐ : ค. ฉิบหาย, เสียหาย, สูญเสีย
  16. นฏฺฐน : นป. การฉิบหาย, การเสียหาย, การสูญเสีย
  17. นตฺถิกทิฏฺฐิ : อิต. ความคิดเห็นว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  18. นตฺถิกวาท, - วาที : ป. ผู้มีปกติกล่าวว่าไม่มี, ผู้เชื่อในทฤษฎีที่ว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  19. นสฺส : (ปุ.) ความแตก, ความทำลาย, ความสูญ, ความหาย, ความหายไป, ความตาย. นสฺ อทสฺสเน, อ, สฺสํโยโค.
  20. ปริกฺขย : ป. ความเสื่อมสูญ, ความสิ้น
  21. ปาริชุญฺญ : นป. ความเสื่อม, ความทรุดโทรม, ความสูญเสีย
  22. โลกายตฺติก : ค. ผู้นับถือนิกายโลกายัต, ผู้มีความเห็นว่าขาดสูญ
  23. สงฺขย : ป. ความสิ้นไป, สูญไป
  24. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  25. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  26. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  27. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  28. อนฺตรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การตั้ง-อยู่ในที่อื่น, การหายไป, การสูญ, การสูญหายไป (หายลับไ), ความสูญ, ความสูญหายไป, อนฺตรหรืออนฺตรํบทหน้าธาธาตุ ยุปัจ.ถ้าใช้อนฺตรํเป็นบทหน้าลบนิคคหิต.
  29. อนฺตรธายติ : ก. อันตรธาน, สูญเสื่อม
  30. อนสฺสน : นป. ความไม่เสียหาย, การไม่สูญสิ้น
  31. อวฺยสน : นป. ความไม่เสื่อมสูญ, ความไม่ฉิบหาย
  32. อุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขาด, การขาดสิ้น, การ ขาดสูญ, ความตัดขาด, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ฉิทฺ เฉทเน, โณ.
  33. อุจฺเฉททิฏฐิ : อิต. ความเห็นว่าตายแล้วขาดสูญ
  34. อุจฺเฉทฺทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าขาดสูญ, อุจเฉททิฏฐิ คือ ความเห็นว่า คนและสัตว์ ตายแล้ว ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณ คือขาดสูญ ไม่เกิดอีก ความเห็นนี้ปฏิเสธกัมมวัฏ.
  35. อุจฺเฉทวาที : นป. ผู้มีวาทะว่าขาดสูญ
  36. นาคมาลิกา : (อิต.) ไม้กากะทิง, กถินพิมาน. วิ. นาคานํ มาลา, สญชาตา ยตฺร สา นาคมาลิกา.
  37. [1-36]

(0.0174 sec)