Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หนังสือคู่มือ, หนังสือ, คู่มือ , then คมอ, คู่มือ, หนงสอคมอ, หนังสือ, หนังสือคู่มือ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หนังสือคู่มือ, 44 found, display 1-44
  1. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  2. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  3. คนฺถโสธน : (นปุ.) การชำระคัมภีร์, การชำระ หนังสือ.
  4. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  5. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  6. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  7. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  8. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  9. โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
  10. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  11. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  12. ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
  13. ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
  14. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  15. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  16. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  17. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  18. นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
  19. ปฏิปณฺณ : นป. จดหมายตอบ, หนังสือตอบ
  20. ปฏิสาสน : นป. หนังสือตอบ, จดหมายตอบ, คำตอบ
  21. ปทภญฺชิกา : (อิต.) การลงบัญชี, หนังสือรายวัน.
  22. โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
  23. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  24. มรณปณฺณ : (นปุ.) หนังสือบอกการตาย.
  25. มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑.     ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓.  ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
  26. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  27. รจนา : (อิต.) การแต่ง, การร้อยกรอง, การประพันธ์, รจนา (การแต่งหนังสือ). รจฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  28. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  29. วฺยญฺชน : นป. แกง, กับข้าว; ตัวหนังสือ
  30. เวยฺยคฺฆ : ค. หุ้มด้วยหนังสือ
  31. สโยค : ป. การประกอบ, การสะกดตัวหนังสือ
  32. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  33. โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
  34. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  35. อกฺขรผลก : ป. กระดานชนวน, กระดานดำ, แผ่นป้ายสำหรับเขียนหนังสือ
  36. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  37. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  38. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  39. อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
  40. องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
  41. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  42. อายาจนปณฺณ : (นปุ.) หนังสือยื่นคำร้อง, ใบยื่นคำร้อง, ฏีกา.
  43. อายุตฺต : (ปุ.) เสมียน( เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ ).อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โต.แปลงต เป็นตฺตลบชฺ.
  44. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  45. [1-44]

(0.0710 sec)