Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลับ , then หลบ, หลับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลับ, 51 found, display 1-50
  1. นิทฺทายติ : ก. ประพฤติหลับ, หลับ, นอนหลับ
  2. นิปชฺชติ : ก. นอน, นอนลง, เอนกาย, หลับ
  3. นิปนฺน : ค. นอนแล้ว, หลับ
  4. ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
  5. ชาครณ : (นปุ.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ.
  6. ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
  7. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  8. ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
  9. ตนฺที : (อิต.) ความหลับ, ฯลฯ อิ ปัจ. เป็น ตนฺทีบ้าง.
  10. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  11. นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
  12. นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
  13. นิทฺทรราม : (วิ.) มีความหลับเป็นที่มายินดี, ฯลฯ.
  14. นิทฺทา : (อิต.) การหลับ, การนอน, การนอน หลับ, ความหลับ. นิปุพฺโพ, ทา สุปเน, อ. ทฺสํโยโค. นินฺทฺ ครหายํ วา, โท, นฺโลโป, อิตฺถิยํ อา. ส. นิทฺรา.
  15. นิทฺทาณ : (นปุ.) การหลับ, ฯลฯ, ความหลับ, ฯลฯ.
  16. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  17. นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
  18. นิทฺทายิตุ : ค. คนนอนหลับ
  19. นิทฺทารุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้นอนหลับ, ความหลับ ของต้นไม้ (ความมืด กลางคืน).
  20. นิปชฺชเปติ : ก. ให้นอน, ให้หลับ, ให้จมลง, ฝัง
  21. นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
  22. ปจลายติ : ก. ง่วงนอน, พยักหน้า, หงุบหงับ, เคลิ้มหลับไป
  23. ปจลายิกา : อิต. การง่วงเหงาหาวนอน, การเคลิ้มหลับไป
  24. ปฏิโพธ : ป. การปลุก, การตื่น (จากหลับ)
  25. ปฏิสุตฺต : ค. ผู้หลับสนิท
  26. ปสฺสุปติ : ก. หลับ, นอน, พักผ่อน
  27. มงฺคลสุปิน : นป., ป. การหลับเป็นมงคล, ฝันดี
  28. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  29. สุตฺติ : อิต. ๑. การหลับ; ๒. หอยโข่ง, หอยนางรม
  30. สุปติ : กิต. ย่อมหลับ
  31. สุป สุปน : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, อ, ยุ.
  32. สุปิน : (ปุ. นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ, การฝัน, ความฝัน. วิ. สุปนํ สุปินํ. สุปฺ สยเน, อิโน.
  33. โสตฺต : (นปุ.) การนอนหลับ, การหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, โต, อุสฺโส, ปสฺส โต.
  34. โสปฺป : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ. วิ. สุปนํ โสปฺปํ สุปฺ สยเน, โ ณฺย. แปลง ปฺย เป็น ปฺป.
  35. อปฺปโพธติ (อปโพเธติ) : ก. บรรเทา (ความหลับ), ตื่นอยู่, ขจัด
  36. ปฏิวิคจฺฉติ : ก. หลีก, หลบ, เลี่ยงไป, แยกจากไปอีก
  37. ถูปิกา : (อิต.)กระเบื้องสำหรับมุง, กระเบื้อง หลบ.
  38. โกฏฐก : นป. ซุ้ม, ป้อม, ที่หลบซ่อน, ห้องเก็บของ, ยุ้ง, ฉาง
  39. ทรีสย : ป. ที่นอนในซอกเขา, ที่อาศัยหลบซ่อนตัวของสัตว์ในซอกเขา
  40. นิยฺยตฺต : นป. การหลบหนี, การเล็ดลอด, การหลีกเลี่ยง
  41. นิวาตก : นป. ที่กำบัง, ที่หลบ
  42. ปฏิกฺกมนสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่หลบหลีก, ศาลาเป็นที่พักผ่อน
  43. ปฏิลีน : ค. หลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  44. ปฏิลียติ : ก. หลบหลีก, ถอยหนี, (จิต) หดหู่, ย่อหย่อน
  45. ปฏิลียน : นป. การหลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  46. ปฏิสลฺลียติ : ก. หลีกเร้น, ปลีกตัวหลบอยู่ (ในที่สงบ)
  47. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  48. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  49. อปสกฺกติ : ก. หลีกไป, หนีไป, หลบไป
  50. อปสกฺกน : นป. การหลีกไป, การหลบไป
  51. [1-50]

(0.0192 sec)