Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หิ้ง , then หง, หิ้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หิ้ง, 12 found, display 1-12
  1. อุโทสิต : ป. หิ้ง, ชั้นวางของ
  2. ตณฺหงกร : (ปุ.) ตัณหังกร พระนามของ พระ พุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  3. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  4. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  5. เกกร : (ปุ.) คนตาเหล่, คนตาหลิ่ว, คนตาส่อน. วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ เกกโร. กุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, อุสฺเส (แปลง อุ แห่ง กุ เป็น เอ). สฺ เกกร.
  6. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  7. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  8. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  9. หสวตีนคร : (นปุ.) นครหงสวดี พระนครหงสาวี ชื่อเมืองหลวงของชาติมอณ.
  10. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  11. อุณฺหคู อุณฺหสิ : (ปุ.) พระอาทิตย์ วิ. อุณฺหา คาโว รสฺมิโย เอตสฺสาติ อุณฺหคู, แปลง โอ แห่ง โค เป็น อู. อุณฺหา รํสิโย เอตสฺสาติ อุณฺหสิ. ลบ รํ.
  12. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.

(0.0140 sec)