Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ห้ามปราม, ห้าม, ปราม , then ปราม, หาม, ห้าม, ห้ามปราม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ห้ามปราม, 83 found, display 1-50
  1. ปราม : ป. การถูกต้อง, การจับต้อง, การลูบคลำ, การจับฉวย, การยึดมั่น, การกอดรัด, สิ่งสัมผัสอันเป็นภัย, โรคติดต่อ
  2. ปรามสติ : ก. ถูกต้อง, จับต้อง, ลูบคลำ, จับฉวย, ยึดมั่น, กอดรัด
  3. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  4. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  5. นิวาเรติ : ก. ป้องกัน, กีดขวาง, ห้าม, ปฏิเสธ
  6. นิเสเธติ : ก. ป้องกัน, ห้าม
  7. ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
  8. ปฏิเสธติ, - เธติ : ก. ปฏิเสธ, ห้าม, ป้องกัน, กีดกั้น, ขัดขวาง
  9. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  10. อภินิคฺคณฺหาติ : ก. ยึด, ดึงกลับ, ป้องกัน, ห้าม
  11. อาวรณ : (วิ.) ปิด, กั้น, ล้อม, กัน, ป้องกัน, ระวัง, ห้าม, ขัดขวาง, กำบัง.
  12. อาวรติ : ก. ปิด, กั้น, กีดกัน, ห้าม
  13. อาวาเรติ : ก. ป้องกัน, ห้าม, กีดกัน
  14. อุปรุนฺธติ : ก. เข้าไปปิดไว้, กั้น, ขวาง, ห้าม
  15. คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
  16. ชิต : ๑. นป. ความชนะ; ๒. ชนะแล้ว, มีชัยแล้ว, ปราบปรามได้แล้ว
  17. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  18. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  19. ทุนฺนิคฺคห : (วิ.) อัน...ข่มขี่ได้โดยยาก, ข่มขี่ ยาก, ข่มขี่ได้ยาก, ข่มขี่ยาก, ยากที่จะ ห้ามไว้. วิ. ทุกฺเขน นิคฺคยฺหยตีติ ทุนฺนิคฺคโห.
  20. ทุนฺนิวารย : (วิ.) อัน...พึงห้ามได้โดยยาก, ยากที่จะห้ามได้.
  21. นิคฺคห : (วิ.) ข่ม, ข่มขี่, ปราบ, ปราบปราม, ข่มขู่, กด (ข่ม).
  22. นิมฺมทย : ค. ซึ่งข่มได้, ซึ่งปราบปรามได้
  23. นิยมน : (นปุ.) การกำหนด, การห้ามไว้, การทำให้ถูกต้องตามแบบ. อุ ปัจ.
  24. นิรคฺคล นิรคฺคฬ : (วิ.) มีลิ่มออกแล้ว, ไม่ห้าม, ไม่เบียน, ไม่ขัดข้อง, ไม่ขัดขวาง, ไม่ติด ขัด, ปลอดอุปสรรค.
  25. นิรุมฺภติ : ก. ปราบปราม, ระงับ, ทำให้เงียบ, นิ่งเงียบ
  26. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  27. นิวรติ : ก. ห้าม, กีดกัน, ปฏิเสธ
  28. นิวารย : (วิ.) อัน...พึงห้าม, อัน...พึงกั้น. นิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, โณฺย.
  29. นิวาริต : ๑. ค. อันเขาห้ามแล้ว; ๒. ค. ซึ่งไม่ถูกห้าม, ซึ่งไม่ถูกกั้น, ซึ่งไม่ถูกเปิด, อันเขาเปิด
  30. นิวาริย : ค. ซึ่งควรแก่การห้ามหรือขัดขวาง
  31. นิวาเรตุ : ค. ผู้ห้าม, ผู้ป้องกัน, ผู้กีดขวาง, ผู้ปฏิเสธ
  32. นิเสธ : ป. การห้าม, การป้องกัน, การกันไว้
  33. นิเสธก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้ห้าม
  34. ปฏิกฺโกสน : นป., - สนา อิต. การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธ, การห้าม
  35. ปฏิกฺขิตฺต : กิต. (อันเขา) ห้ามแล้ว, ปฏิเสธแล้ว, คัดค้านแล้ว
  36. ปฏิกฺขิปติ : ก. ห้าม, ปฏิเสธ, คัดค้าน
  37. ปฏิกฺเขป : ป. การห้าม, การปฏิเสธ, การคัดค้าน
  38. ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
  39. ปฏิพาหติ : ก. ห้าม, คัดค้าน, ป้องกัน, ขัดขวาง, ขจัด, ขับไล่
  40. ปฏิพาหน : นป. การห้าม, การป้องกัน, การขับไล่
  41. ปฏิสิทฺธ : กิต. (อันเขา) ห้ามแล้ว
  42. ปฏิเสธ : ป. การปฏิเสธ, การห้าม, การกีดกัน
  43. ปฏิเสธก : ค., ป. ผู้ปฏิเสธ, ผู้ห้าม, ผู้ป้องกัน, ผู้กีดกั้น
  44. ปมทฺที : ค. ผู้ย่ำยี, ผู้เหยียบย่ำ, ผู้ปราบปราม, ผู้สามารถเอาชนะ, ผู้มีอำนาจ
  45. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  46. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  47. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  48. ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
  49. รถคุตฺติ : อิต. ไม้ค้ำรถ, ไม้ห้ามหรือกั้นรถ
  50. รุชฺฌติ : ก. กีดขวาง, กีดกัน, ถูกห้าม, กั้น, ล้อม, ระวัง
  51. [1-50] | 51-83

(0.0596 sec)