Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อริ , then อร, อริ, อรี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อริ, 78 found, display 1-50
  1. อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
  2. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  3. อริตฺต : (นปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ.อรติเยนาติอริตฺตํ.อรฺคมเน, โต, ทฺวิตฺตํ, อิอาคโม.
  4. อริ : (นปุ.) ริดสีดวงงอก, ริดสีดวงทวาร.วิ.อริวิยสสตีติอริสํ.อริปุพฺโพ. สสฺ หึสายํ, กฺวิ.อรฺคมเนวา, อิโส.
  5. อริญฺจมาน : กิต. ไม่ละทิ้ง, ติดตามไปไม่ลดละ
  6. อริฏฺฐก : ค. ไม่ถูกทำร้าย, ไม่บกพร่อง
  7. อริภาเสติ : ก. กล่าวโจมตี, ท้าทาย
  8. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  9. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  10. อริยมคฺค : (ปุ.) ทางอันประเสริฐ, ทางอันยังผู้ปฏิบัติให้เป็นพระอริยบุคคล, ทางของพระอริยะ.
  11. อริยุปวาทก : (ปุ.) คนผู้เข้าไปว่าพระอริยะ.
  12. อริยุโปสถ : ป. อุโบสถของพระอริยะ
  13. อริยูปวาท : ป. การว่าร้ายพระอริยเจ้า
  14. อริสปฺป : (ปุ.) พังพอน (มีงูเป็นข้าศึก ข้าศึกของงู).
  15. อร : (ปุ. นปุ.) ดอกบัว, ซี่, ซี่จักร, กำ (ซี่ของล้อรถหรือเกวียน), ส่วนเวลา, เครื่องเล่น.อรฺคติยํ, อ.ส.อร.
  16. กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
  17. ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  18. ธริตฺติ : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก, ธริษตรี, ธเรษตรี, ธาษตรี. ส. อริตฺรี.
  19. ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
  20. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  21. สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  22. สามุกฺกสึกธมฺม : (ปุ.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  23. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  24. อริยสฆอริยสงฺฆ : (ปุ.) หมู่แห่งพระอริยะ.วิ.อริยานํสงฺโฆสมูโหอริยสงฺโฆ.สงฆ์ผู้เป็นอริยะวิ. อริโยสงฺโฆอริยสงฺโฆ.
  25. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  26. อรติ : (อิต.) ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, ความเบื่อ, ความริษยา, อรดี, อราดี.ส. อรติ.
  27. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  28. อรวินฺท : (นปุ.) ทองแดง, ดอกบัว, ปทุม (บัว-หลวง), บัว, อรพินท์.วิ.อรํวินฺทตีติวาอรวินฺทํ.ส.อรวินฺท.
  29. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  30. อร : (อัพ. นิบาต) ด่วน, พลัน, เร็ว, ไว, ฉับไว.
  31. อรรุ : (นปุ.) ข้าศึก, ศัตรู (ผู้ยังผุ้อื่นให้พินาศ).อรฺนาเส, รุ.
  32. อรหนฺตฆาต : (วิ.) ผู้ฆ่าพระอรหันต์.
  33. อรหนฺตฆาตก : ค. ผู้ฆ่าพระอรหันต์
  34. อรหนฺตี : (อิต.) หญิงผู้เป็นพระอรหันต์.พระอรหันต์หญิง
  35. อรหิต : ค. ดู อจฺจิต
  36. อรุ : (นปุ.) แผล, บาดแผล, ฝี.วิ. อรติปูติภา-เวนอุทฺธํคจฺฉตีติอรุ. อรฺคมเน, อุ. ส. อรุ.
  37. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  38. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  39. อูรุ อูรุก : (ปุ.) ขา, ลำขา, โคนขา, ต้นขา, ขาอ่อน. วิ. อรนฺติ อเนนาติ อูรุ. อรฺ คติยํ, อุ, อสฺสู. ส. อูรุ.
  40. นวอรหาทิคุณ : (ปุ.) คุณของพระพุทธเจ้าเก้า อย่างมีอรหังเป็นต้น.
  41. อติอรหนฺต : ป. พระอรหันต์ผู้เลิศยิ่ง
  42. อเร : (อัพ. นิบาต) เว้ย, โว้ย, แน่ะคนอะไร, แน่ะคนร้าย, แน่ะหญิงร้าย, พ่อเฮ้ย.
  43. อิร : (นปุ.) น้ำ. อิ คติยํ, โร.
  44. อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
  45. อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.
  46. โอร : (นปุ.) ฝั่งนี้, ฝั่งใน, ฟากฝั่งนี้, ภายใน. วิ. อวเร ตีเร เทเส ภวํ โอรํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โอรํ (อัพ, นิบาต) ฝั่งใน, ในฝั่งใน, ในฝั่งนี้, ในภายใน, ภายใน. ลงในอรรถสัตมี.
  47. โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
  48. มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
  49. อุตุ : (ปุ. อิต.) คราว, ฤดู. วิ. ปุนปฺปุนํ เอนฺตีติ อุตุโย. อิ คมเน, ตุ, อิสฺส อุ (แปลง อิ เป็น อุ). ตํ ตํ สตตกิจฺจํ อรติ วตฺเตตีติ อุตุ. อร. คมเน, ตุ. แปลง อรฺ เป็น อุ. ส. ฤตุ.
  50. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  51. [1-50] | 51-78

(0.0200 sec)