Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อัฏฐ , then อฏฐ, อฏฺฐ, อัฏฐ, อัฏฐะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : อัฏฐ, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : อัฏฐ, 3 found, display 1-3
  1. อัฏฐ : (N) ; eight ; Syn:แปด
  2. ศีลแปด : (N) ; eight commandments ; Related:eight precepts ; Syn:อัฏฐศีล ; Def:ข้อบัญญัติในพระพุทธศาสนา คือ ศีลห้า และเพิ่มอีก 3 ข้อ ; Samp:ศีลมีจำแนกไว้เป็นศีล 5 ศีล 8 ศีล 10 ศีล 227 หรืออื่นๆ อีก เป็นการปฏิบัติเพื่อความสงบเรียบร้อยและปราศจากโทษ
  3. พิหาร : (N) ; monastery ; Syn:วิหาร ; Def:ที่อยู่ของพระสงฆ์, ที่ประดิษฐานของพระพุทธรูป ; Samp:ศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวไว้ว่า กลางเมืองสุโขทัยมีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารส“

Royal Institute Thai-Thai Dict : อัฏฐ, 7 found, display 1-7
  1. อัฏฐ, อัฏฐ : [อัดถะ] (แบบ) ว. แปด. (ป.).
  2. อัฏฐบาน : [บาน] น. น้ำที่คั้นจากผลไม้ มี ๘ อย่าง คือ น้ำมะม่วง น้ำชมพู่หรือน้ำหว้า น้ำกล้วยมีเม็ด น้ำกล้วยไม่มีเม็ด น้ำมะซาง น้ำลูกจันทน์หรือน้ำองุ่น น้ำเหง้าอุบล น้ำมะปรางหรือน้ำลิ้นจี่, เขียนว่า อัฐบาน ก็มี.
  3. อัฏฐังค์ : ดู อัฏฐ, อัฏฐะ.
  4. อัฏฐังคิกมรรค : ดู อัฏฐ, อัฏฐะ.
  5. อัฏฐังสะ : ดู อัฏฐ, อัฏฐะ.
  6. โคบุตร : [-บุด] น. ชื่อช้างหมู่ ๑ ในอัฏฐคช ตระกูลวิษณุพงศ์ มีสีผิว เหลือง หางเหมือนหางโค งางอน เวลาร้องมีเสียงเหมือนเสียงโคป่า เช่น ลางคือโคบุตรพรายพรรณ ลางสารสำคัญ คือสีหชงฆาควร. (สมุทรโฆษ).
  7. อัฐบาน : น. นํ้าที่คั้นจากผลไม้ มี ๘ อย่าง คือ นํ้ามะม่วง นํ้าชมพู่หรือ นํ้าหว้า นํ้ากล้วยมีเม็ด นํ้ากล้วยไม่มีเม็ด นํ้ามะซาง นํ้าลูกจันทน์หรือ น้ำองุ่น นํ้าเหง้าอุบล นํ้ามะปรางหรือน้ำลิ้นจี่, เขียนว่า อัฏฐบาน ก็มี.

Budhism Thai-Thai Dict : อัฏฐ, 6 found, display 1-6
  1. อัฏฐกะ : หมวด ๘
  2. อัฏฐบาล : ปานะทั้ง ๘, น้ำปานะคือน้ำคั้นผลไม้ ๘ อย่าง ดู ปานะ
  3. อัฏฐารสเภทกรวัตถุ : เรื่องทำความแตกกัน ๑๘ อย่าง, เรื่องที่จะก่อให้เกิดความแตกแยกแก่สงฆ์ ๑๘ ประการ ท่านจัดเป็น ๙ คู่ (แสดงแต่ฝ่ายคี่) คือ ภิกษุแสดงสิ่งมิใช่ธรรมว่าเป็นธรรม, แสดงสิ่งมิใช่วินัยว่าเป็นวินัย, แสดงสิ่งที่พระตถาคตมิได้ตรัสว่าได้ตรัส, แสดงสิ่งที่พระตถาคตมิได้ประพฤติ ว่าได้ประพฤติ, แสดงสิ่งที่พระตถาคตมิได้บัญญัติ ว่าได้บัญญัติ, แสดงอาบัติว่ามิใช่อาบัติ, แสดงอาบัติเบาว่าเป็นอาบัติหนัก, แสดงอาบัติมีส่วนเหลือวาเป็นอาบัติไม่มีส่วนเหลือ, แสดงอาบัติหยาบคายว่ามิใช่อาบัติหยาบคาย (ฝ่ายคู่ก็ตรงกันข้ามจากนี้ตามลำดับ เช่น แสดงธรรมว่ามิใช่ธรรม, แสดงวินัยว่ามิใช่วินัย ฯลฯ แสดงอาบัติไม่หยาบคาย ว่าเป็นอาบัติหยาบคาย)
  4. ปานะ : เครื่องดื่ม, น้ำสำหรับดื่ม ที่คั้นจากลูกไม้ (น้ำคั้นผลไม้) จัดเป็นยามกาลิก ท่านแสดงไว้ ๘ ชนิด คือ ๑.อมฺพปานํ น้ำมะม่วง ๒.ชมฺพุปานํ น้ำชมพู่หรือน้ำหว้า ๓.โจจปานํ น้ำกล้วยมีเม็ด ๔.โมจปานํ น้ำกล้วยไม่มีเม็ด ๕.มธุกปานํ น้ำมะม่วง (ต้องเจือน้ำจึงจะควร) ๖.มุทฺทิกปานํ น้ำลูกจันทร์หรือองุ่น ๗.สาลุกปานํ น้ำเหง้าอุบล ๘.ผารุสกปานํ น้ำมะปรางหรือลิ้นจี่ นิยมเรียกว่า อัฏฐบาล หรือ น้ำอัฏฐบาน (ปานะ ๘ อย่าง)
  5. เภทกรวัตถุ : เรื่องทำความแตกกัน, เรื่องที่จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดความแตกแยกในสงฆ์, เหตุให้สงฆ์แตกกัน ท่านแสดงไว้ ๑๘ อย่าง ดู อัฏฐารสเภทกรวัตถุ
  6. อุปสัมปทา : การบวช, การบวชเป็นภิกษุหรือภิกษุณี; วิธีอุปสมบทมีทั้งหมด ๘ อย่าง แต่เฉพาะที่ใช้เป็นหลักมี ๓ อย่างคือ ๑) เอหิภิกขุอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยพระวาจาว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด” เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้เอง ๒) ติสรณคมนูปสัมปทา หรือสรณคมนูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยถึงไตรสรณะ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้พระสาวกทำในยุคต้นพุทธกาล เมื่อคณะสงฆ์ยังไม่ใหญ่นัก เมื่อทรงอนุญาตวิธีที่ ๓ แล้ว วิธีที่ ๒ นี้ก็เปลี่ยนใช้สำหรับบรรพชาสามเณร ๓) ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้สงฆ์ทำ ในเมื่อคณะสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่ขึ้นแล้วส และเป็นวิธีใช้สืบมาจนทุกวันนี้; วิธีอุปสมบทอีก ๕ อย่าง ที่เหลือเป็นวิธีที่ทรงประทานเป็นการพิเศษ จำเพาะบุคคลบ้าง ขาดตอนหมดไปแล้วบ้าง ได้แก่ (จัดเรียงลำดับใหม่ เอาข้อ ๓) เป็นข้า ๘) ท้ายสุด) ๓) โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการรับโอวาท เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระมหากัสสปะ ๔) ปัญหาพยากรณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธองค์ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่โสปากสามเณร ๕) ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา (หรือ อัฏฐครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา) การอุปสมบทด้วยการรับครุธรรม ๘ ประการ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี ๖) ทูเตนะ อุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยทูต เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่นางคณิกา (หญิงโสเภณี) ชื่ออัฑฒกาสี ๗) อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา การอุปสมบทมีวาจา ๘ คือ ทำด้วยญัตติจตุตถกรรม ๒) ครั้งจากสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่ายคือจากภิกษุณีสงฆ์ครั้งหนึ่ง จากภิกษุสงฆ์ครั้งหนึ่ง ได้แก่การอุปสมบทของภิกษุณี ๘) ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา (ข้อ ๓) เดิม)

ETipitaka Pali-Thai Dict : อัฏฐ, more than 5 found, display 1-5
  1. อฏฺฐ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, นปุพฺโพ.ฐา คตินิวุตติยํ, อ, ฏฺสํโยโค.
  2. อฏฺฐมี : อิต. อัฏฐมี, ดิถีที่ ๘, ขึ้น – แรม ๘ ค่ำ
  3. โกฏฺฐาสย : (ปุ.) โกฏฐาสยะ ชื่อลมในกาย อย่างที่ ๔ ใน ๖ อย่าง, ลมในไส้. วิ. โกฏฺเฐ อนฺเตเสติ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐาสโย. โกฏฺฐปุพฺโพ, สี สเย, อ. อัฏฐกถาแก้เป็น อนฺโตวาต.
  4. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  5. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อัฏฐ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อัฏฐ, 5 found, display 1-5
  1. กระดูก : อฏฺฐิ [นปุ.]; ธาตุ [ถี.]
  2. กะโหลกศีรษะ : อฏฺฐิ [นปุ.]; ธาตุ [ถี]; กปาล, กปาโล, กปาลโก, กปฺปโร, กปาลํ [ป.]
  3. ปาก : วทนํ, มุขํ, ตุณฺฑํ, วตฺตํ, ลปนํ, อานนํ, มุข, โอฏฺฐ
  4. ริมฝีปาก : ทนฺตาวรณํ, โอฏฺโฐ, อธโร, ทสนจฺฉโท
  5. อรรถกถา : อตฺถวณฺณนา, อฏฺฐกถา

(0.1368 sec)