Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อาจารย์ , then อาจารย, อาจารย์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อาจารย์, 45 found, display 1-45
  1. ธมฺมภาณก : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าวซึ่งบทแห่ง ธรรม, อาจารย์สอนธรรมบท, อาจารย์ สอนธรรม.
  2. ทิสาปาโมกฺข : ค. (อาจารย์) ผู้เป็นใหญ่ในทิศ, ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วทุกทิศ
  3. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  4. อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
  5. อาเจร : (ปุ.) อาจารย์.แปลงอาจริยเป็น อาเจร.รูปฯ ๖๓๘.
  6. กตทณฺฑกมฺมสิสฺส : (ปุ.) ศิษย์ผู้มีทัณฑกรรม อันอาจารย์ทำแล้ว, ศิษย์ผู้ถูกอาจารย์ ลงโทษ.
  7. กถิกาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าว, อาจารย์ผู้ อธิบาย.
  8. กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
  9. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  10. คนฺถรจนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์, พระคันถรจนาจารย์.
  11. โจทก : (ปุ.) อาจารย์ผู้โจทก์, ชนผู้ทักท้วง, ชน ผู้ถาม, ชนผู้กล่าวหา, คนผู้ฟ้อง, โจทก์. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ.
  12. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  13. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  14. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  15. ติ ตฺ ถ : (ปุ.) คนที่ควรเคารพ ( มีอาจารย์ เป็นต้น).
  16. ทิสาปาโมกข : (ปุ.) อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้าใน ทิศท., อาจารย์ผู้เป็นประธานในทิศ ท., ทิศาปาโมกข์ (อาจารย์ผู้มีเสียงโด่งดัง).
  17. ปรมฺปราภต : (วิ.) อันอาจารย์นำสืบๆกันมาแล้ว.
  18. ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
  19. ปาโมกฺขาจริย : ป. อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้า, อาจารย์ผู้เป็นใหญ่, อาจารย์ผู้เป็นประธาน
  20. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  21. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  22. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  23. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  24. สาจริยก : ค. ผู้ร่วมอาจารย์เดียวกัน
  25. โหราจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้รู้วิชาโหร.
  26. อตฺถกถาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา.
  27. อนุสาสนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้ทำหน้าที่สั่งสอนอนุศาสนาจารย์.ส. อนุศาสนาจารฺย.
  28. อภิธมฺมิก : ค. อาจารย์สอนอภิธรรม, นักอภิธรรม
  29. อภิธาน : (นปุ.) วจนะอันอาจารย์กล่าว, คำกล่าวคำพูด, นาม, ชื่อ.วิ.อภิธียเตเอเตนาติอภิธานํ. อภิปุพฺโพ, ธา ภาสเน, ยุ. ส. อภิธาน.
  30. อภิเธยฺย : (นปุ.) วจนะอันอาจารย์กล่าว, คำกล่าวคำพูด, นาม, ชื่อ.อภิปุพฺโพ, อา ภาสเน, โณฺย.ส.อภิเธย.
  31. อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
  32. อาจริยกุล : นป. ตระกูล – ครอบครัวของอาจารย์
  33. อาจริยธน : นป. ค่าธรรมเนียมของอาจารย์, ค่าบูชาอาจารย์
  34. อาจริยปาจริย : ป. อาจารย์เหนืออาจารย์, ปรมาจารย์, บุรพาจารย์
  35. อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
  36. อาจริยวตฺต : (นปุ.) วัตรอันศิษย์ (อันเตวาสิก)พึงทำแก่อาจารย์, กิจอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์, กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติแก่อาจารย์, วัตรเพื่ออาจารย์, กิจเพื่ออาจารย์.
  37. อาจริยวส : ป. วงศ์ตระกูล - , เชื้อสายของอาจารย์
  38. อาจริยวาท : ป. อาจริยวาท, คำสั่งสอนที่ปฏิบัติตามที่อาจารย์สอนได้แก่ ลัทธิมหายาน
  39. อาจริยา : (อิต.) อาจารย์หญิง, หญิงผู้เป็นอาจาย์เป็นอาจรินี โดยลบยลงอินีปัจ. อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๒.
  40. อาจริยานี : อิต. อาจารย์หญิง; ภรรยาของอาจารย์
  41. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  42. อาจาริณี : อิต. ครู – อาจารย์เป็นผู้หญิง ; ภรรยาของอาจารย์
  43. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  44. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  45. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  46. [1-45]

(0.0144 sec)