Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อาศัย , then อาศัย, อาสัย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อาศัย, 196 found, display 1-50
  1. นิสฺสยติ : ก. พักพิง, อาศัย
  2. อธิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก, สิง
  3. อธิสยติ : ก. นอนทับ, พำนัก, อาศัย
  4. อภินิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก
  5. อวสรติ : ก. เที่ยวไป, มาถึง, พัก, อาศัย, ประชุมลง, รวมลง
  6. อวสฺเสติ : ก. พิง, อาศัย, เนื่องอยู่
  7. อาวสติ : ก. อยู่, พำนัก, อาศัย
  8. อุปวสติ : ก. เข้าอยู่, อาศัย, รักษา, เข้าจำ
  9. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  10. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  11. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  12. อาสียติ : ก. อาศัย
  13. กนฺตาริย : ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในที่กันดาร
  14. กมฺมก : ค. ที่เนื่องด้วยกรรม, ซึ่งอาศัยกรรม
  15. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  16. กมฺมนิเกตฺวา : ค. มีกรรมเป็นที่พำนักอาศัย
  17. กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
  18. กากปฏฏนก : ป., นป. ท่าน้ำเป็นที่อาศัยของกา, ที่หากินของกา
  19. กามนิสิต : ค. ซึ่งอาศัยกาม
  20. กายูปค : ค. อันเข้าไปสู่กาย, อันอาศัยกาย, ซึ่งติดอยู่กับกาย
  21. กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ; ๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
  22. กุมฺภการิกา : อิต. ตุ่มดินขนาดใหญ่ (ที่คนสามารถเข้าไปอาศัยอยู่ได้)
  23. กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
  24. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  25. โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
  26. ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
  27. ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
  28. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  29. คนฺธกุฏิ : อิต. คันธกุฎี, กระท่อมที่อยู่อาศัยของบรรพชิต (โดยเฉพาะเป็นที่ประทับอยู่อาศัยของพระพุทธเจ้า)
  30. คหนฏฐาน : นป. ที่อาศัยในป่าชัฏ
  31. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  32. คุหาสย : (วิ.) มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย วิ. คุหา อาสยา อสฺส อตฺถีติ คุหาสโย คุหาสยํ วา คุหาสยา วา. นอนอยู่ในถ้ำ วิ. คุหายํ สยตีติ คุหาสยํ (จิตฺตํ).
  33. คูถปาณก : ป. สัตว์ที่อาศัยอยู่ในคูถ, ตัวหนอน
  34. เคฏฐาน : นป. ที่ตั้งบ้าน, บริเวณบ้าน, บริเวณที่อยู่อาศัย
  35. เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
  36. โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
  37. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  38. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  39. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  40. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  41. จิรนิวาสี : ค. ผู้อาศัยมาช้านาน
  42. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  43. ชลโคจร, - จรก : ๑. ป. ปลา; ๒. ค. ผู้เที่ยวไปในน้ำ, ผู้อาศัยอยู่ในน้ำ
  44. ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
  45. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  46. ฌานวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยฌาน
  47. ญาณวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยญาณ
  48. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  49. ตีริย : ค. ผู้อาศัยอยู่บนฝั่ง
  50. ถลโคจร : ค. ซึ่งเที่ยวหากินบนบก, ซึ่งอาศัยอยู่บนบก
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-196

(0.0268 sec)