Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อี , then อิ, อี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อี, 802 found, display 1-50
  1. อีลี : (ปุ.) ไม้ตะบอง, ไม้เท้า. อิลฺ คติยํ, อี. ส. อีลี.
  2. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  3. อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
  4. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  5. อีสกฺกร : (วิ.) อันเขาทำหน่อยหนึ่ง วิ. อีสํ กรียเตติ อีสกฺกรํ. อีสํปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โข, นิคฺคหิตโลโป.
  6. อีหน : นป. อีหา อิต. ความเพียรพยายาม, ความขยัน, ความดำริ, ความรู้
  7. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  8. อีริต : (วิ.) ขว้าง. ซัด, โยน, พรุ่ง, ยิง, ไหว, เคลื่อนไหว, สั่น. อีรฺ คติกมฺปนเขเปสุ อิโต, โต วา.
  9. อีติก : ค. มีอันตราย, มีเสนียดจัญไร
  10. อีรณ : (วิ.) ขว้าง, ซัด, โยน, เคลื่อนไหว. อีรฺ เขปเน, ยุ.
  11. อีรติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, โยกคลอน
  12. อีเรติ : ก. พูด, กล่าวออกมา, ซัด, ให้สิ้นไป
  13. อีสก : (วิ.) น้อย, เล็กน้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย หนึ่ง, นิดหน่อย, สะดวก, ง่าย. ส. อีษตฺ.
  14. อีสก : ก. วิ. นิดหน่อย, เล็กน้อย
  15. อีสก อีส : (อัพ. นิบาต) น้อย, ฯลฯ, ง่าย.
  16. อีสาก : ค. มีงอนไถ
  17. อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)
  18. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  19. คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
  20. ททฺทรี : (ปุ.) ทัททรี ชื่อกลอง, กลองมีหู ( เป็น กลองใหญ่). ททฺทอิติ สทฺทํ กโรตีติ ททฺทรี. ททฺทปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อี, กโลโป. ททฺ ทาเน วา, รี. แปลง ทฺ เป็น ทฺท หรือ ทรฺ วิทารเณ, อี. ฎีกาอภิฯ เป็น ททฺทริ ลง อิ หรือ ริ ปัจ.
  21. กิกี : (ปุ.) นกต้อยตีวิต. กระต้อยตีวิต ก็เรียก. วิ. กิอิติ สทฺทํ กโรตีติ กิกี. กิปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อี, รฺโลโป.
  22. กุรี : (ปุ.?) หญ้า (เกิดบนแผ่นดิน). กุปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อี, หโลโป.
  23. ผคฺคุนี : (อิต.) ผัคคุนี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๑ วิ. ผลํ คณฺหาเปตีติ ผคฺคุนี. ผลปุพฺโพ, คหฺ อุปาทาเน, ยุ, อี, ลสฺส โค, หสฺส อุ. แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ผคฺคุณี บ้าง. หรือลบที่สุดธาตุแปลง อ ที่ ค เป็น อุ ก็ได้.
  24. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  25. ธมฺมเทสฺสี : (วิ.) ผู้ชังซึ่งธรรม, ผู้ชังธรรม, ผู้เกลียดธรรม. ธมฺมปุพฺโพ, ทิสิ อปฺปีติยํ, อิ. ทีโฆ, อี วา.
  26. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  27. คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
  28. ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
  29. ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
  30. มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
  31. อกฺขเทวิ อกฺขเทวี อกฺขธุตฺต : (ปุ.) นักเลงเล่นการพนัน, นักเลงสกา.อกฺขปุพฺโพ, ทิวุกีฬายํ, อิ, อี. ศัพท์หลัง อกฺข+ธุตฺต.
  32. กทลิมิค : (ปุ.) กวาง, ชะมด. กทิ อวฺหาเณ, อโล, อิ. สำเร็จรูป เป็น กทลิ ฎีกาอภิฯ ลง อี เป็น กทลี. กทลิ จ โส มิโค เจติ กทลิ มิโค.
  33. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  34. กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
  35. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  36. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  37. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  38. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  39. คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
  40. ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
  41. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  42. ถมฺภกรี : (ปุ.) ข้าวเปลือก. วิ. ถมฺโภ คุมโภ, ตํ กโรตีติ ถมฺภกรี. กรฺ กรเณ, อี. ฏีกา อภิฯ ลง อิ ปัจ. เป็น ถมฺภกริ.
  43. ทิฆมฺพร : (นปุ.) ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน. ทีฆ+อมฺพร รัสสะ อี เป็น อิ. ส. โวฺยมนฺ.
  44. โทลา โทลี : (อิต.) ชิงช้า, คานหาม, เปล. วิ. ทุยตีติ โทลา โทลี วา. ทุ ปริตาเป, โล. อา, อี อิต. ส. โทล. โทลิกา.
  45. ธรณี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก. วิ. สพฺพโลกํ ธรตีติ ธรณี ธรฺ ธารเณ, อณี. ไม่ลบ ณฺ หรือ ยุ ปัจ. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓ ลง อิ ปัจ. เป็น ธรณิ ธรณ+อิปัจ. ส. ธรณิ, ธรณี.
  46. ธาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์, ผักปลาป. วิ. อติสยํ ฐิตํ กโรตีติ ธาตกี. ฐิต+กรฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อิ เป็น อ ฐ เป็น ธ และทีฆะ ลบรฺ อี อิต.
  47. นทิก : (วิ.) มีแม่น้ำ, นทีศัพท์ ก ปัจ. ลงใน พหุพ. รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  48. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  49. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  50. ปถพฺย : (นปุ.) ดิน, แผ่นดิน. ปถวี + ณ ปัจ. ภาวตัท. สกัด รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-802

(0.0538 sec)