Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อ่อนช้อย, อ่อน, ช้อย , then ชอย, ช้อย, ออน, อ่อน, ออนชอย, อ่อนช้อย .

Eng-Thai Lexitron Dict : อ่อนช้อย, more than 7 found, display 1-7
  1. lithe : (ADJ) ; อ่อนช้อย (เช่น การเต้นบัลเล่ย์)
  2. lithesome : (ADJ) ; อ่อนช้อย (เช่น การเต้นบัลเล่ย์)
  3. limp 2 : (ADJ) ; อ่อน ; Related:นุ่มนิ่ม
  4. milden : (VI) ; อ่อน ; Related:เบาบาง
  5. graceful : (ADJ) ; นุ่มนวล ; Related:นิ่มนวล, อ่อนช้อย, สง่างาม ; Syn:elaborate, exquisite, fine ; Ant:ungraceful
  6. light 2 : (ADJ) ; อ่อน (สี) ; Related:ซีด, จาง ; Syn:pale ; Ant:dark
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : อ่อนช้อย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อ่อนช้อย, more than 7 found, display 1-7
  1. อ่อนช้อย : (V) ; be gentle ; Related:be tender ; Syn:ชดช้อย ; Def:มีกิริยาท่าทางงดงาม ; Samp:การรำของไทยอ่อนช้อยไม่เหมือนอย่างอินเดีย
  2. อ่อนช้อย : (V) ; be delicate ; Syn:งอนงาม ; Def:มีลักษณะงอนงาม, มีลักษณะช้อยขึ้นอย่างลายกนก
  3. ชดช้อย : (ADV) ; gently ; Related:lovely, gracefully ; Syn:อ่อนช้อย ; Samp:ท่ารำของนางรำบนเวทีนั้นงามชดช้อยเหลือเกิน
  4. ชดช้อย : (ADJ) ; gentle ; Related:affectedly graceful, soothing, fine ; Syn:อ่อนช้อย ; Samp:เธอมีท่าทางชดช้อยน่าเอ็นดู
  5. อ่อน : (V) ; deform ; Related:be malleable, be pliable ; Def:กดให้เปลี่ยนรูปได้ง่าย ; Samp:เด็กคนนี้ตัวอ่อนเหลือเกิน
  6. อ่อน : (V) ; be young ; Related:be tender ; Def:อายุน้อย ; Samp:ฉันอ่อนกว่าพี่ 2 ปี
  7. อ่อน : (ADJ) ; immature ; Related:unripe, green ; Def:ที่ยังมีอายุไม่มาก ; Samp:มะเขือนี้ถ้าผลอ่อนจะไม่ขม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อ่อนช้อย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อ่อนช้อย, more than 5 found, display 1-5
  1. อ่อนช้อย : ว. มีกิริยาท่าทางงดงามละมุนละไม, มีลักษณะงอนงาม, มีลักษณะงอนขึ้นอย่างลายกระหนก, โดยปริยายหมายถึงลักษณะ ที่คล้ายคลึงเช่นนั้น.
  2. อ่อน : ว. ไม่กระด้าง เช่น ลิ้นอ่อน; นิ่ม เช่น เนื้ออ่อน; ไม่จัด เช่น แดดอ่อน; ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร, เช่น ใจอ่อน; ไม่แก่ เช่น มะพร้าว อ่อน; หย่อน เช่น อ่อนเค็ม, น้อย เช่น เหลืองอ่อน, ไม่แรง เช่น ไฟอ่อน, อายุยังน้อย เช่น ไก่อ่อน, ยังเล็กอยู่ เช่น เด็กอ่อน; ละมุนละม่อม, ดัดง่าย, เปลี่ยนแปลงง่าย.
  3. ช้อย : ว. งอนงาม.
  4. ชดช้อย : ว. อ่อนช้อย เช่น กิริยาชดช้อย; มีลักษณะกิริยาท่าทาง งดงาม เช่น คนชดช้อย, ช้อยชด ก็ว่า.
  5. ชด : ก. ทําให้ชุ่มชื่น, ใช้แทนที่เสียไป. ว. อ่อน, ช้อย, งอนอย่าง งอนรถ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อ่อนช้อย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อ่อนช้อย, more than 5 found, display 1-5
  1. โผฏฐัพพะ : อารมณ์ที่จะพึงถูกต้องด้วยกาย, สิ่งที่ถูกต้องด้วยกาย เช่น เย็น ร้อน อ่อน แข็ง เป็นต้น (ข้อ ๕ ในอายตนะภายนอก ๖ และในกามคุณ ๕)
  2. กตัตตากรรม : กรรมสักว่าทำ, กรรมที่เป็นกุศลก็ตาม อกุศลก็ตาม สักแต่ว่าทำคือไม่ได้จงใจจะให้เป็นอย่างนั้นโดยตรง หรือมีเจตนาอ่อนไม่ชัดเจน ย่อมให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่น ท่านเปรียบเสมือนคนบ้ายิงลูกศร ย่อมไม่มีความหมายจะให้ถูกใคร ทำไปโดยไม่ตั้งใจชัดเจน ดู กรรม๑๒ - casual act, cumulative or reserve Karma.
  3. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  4. กายมุทุตา : ความอ่อนโยนแห่งนามกาย, ธรรมชาติทำนามกาย คือ เจตสิกทั้งหลายให้นุ่มนวลอ่อนละมุน (ข้อ ๑๒ ในโสภณเจตสิก ๒๕)
  5. กายิกสุข : สุขทางกาย เช่น ได้ยินเสียงไพเราะ ลิ้มรสอร่อย ถูกต้องสิ่งที่อ่อนนุ่ม เป็นต้น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อ่อนช้อย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อ่อนช้อย, more than 5 found, display 1-5
  1. เผคฺคุก : ค. มีกระพี้, มีเปลือกนอก, อ่อน, ไม่แข็งแรง
  2. มชฺชว : (วิ.) เป็นของอ่อน, อ่อน, อ่อนโยน.
  3. มนฺท : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, พาล (อ่อน), อ่อน, อ่อนแอ, เพลีย, มัว, รางๆ. มนฺทฺ ชฬตฺเต, อ.
  4. สณฺห : ค. เกลี้ยงเกลา, อ่อน, นุ่ม, สุภาพ
  5. สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อ่อนช้อย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อ่อนช้อย, 3 found, display 1-3
  1. มะตูมอ่อน : เวฬุวลฏฺฐิ
  2. มีนิสัยอ่อน : มุทุชาติก
  3. ละเอียดอ่อน : สุขุมาล, โกมล, สุกุมาร

(0.3000 sec)