Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าใจ , then ขาจ, เข้าใจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าใจ, 90 found, display 1-50
  1. คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
  2. ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
  3. ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
  4. ทสฺสติ : ๑. ก. เห็น, เข้าใจ; ๒. ก. (ขา) จักให้
  5. นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
  6. ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
  7. ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
  8. พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
  9. สนฺทีเปติ : ก. จุดไฟ, แสดงให้เห็น, เข้าใจ
  10. อธิคจฺฉติ : ก. บรรลุ, เข้าใจ
  11. อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
  12. อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
  13. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  14. ชวนปญฺญ : ค. มีปัญญาว่องไว, ความเข้าใจได้ไว
  15. ชาน, ชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจ, ความจำได้, ความชำนาญ
  16. ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
  17. ชานิตุ : ก. การรู้, การเข้าใจ; เพื่ออันรู้, เพื่ออันเข้าใจ
  18. ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
  19. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  20. ญตฺวา : กิต. รู้แล้ว, เข้าใจแล้ว, เรียนรู้แล้ว
  21. ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
  22. ทนฺธาภิญฺญา : อิต. การเข้าใจความได้ช้า, การตรัสรู้ช้า
  23. ทิฏฺฐิปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะซึ่งทิฐิ, การเข้าใจในทิฐิ
  24. ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
  25. ทิฏฺฐิปรามาส : ป. การลูบคลำด้วยทิฐิ, ความงมงายเพราะทิฐิ, ความเข้าใจผิดไปจากความจริงเพราะความเห็นผิด
  26. ทุชฺชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
  27. ทุปฺปฏิวิชฺฌ : ค. ซึ่งแทงตลอดได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
  28. ทุพฺพิชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งรู้ได้ยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
  29. ทุรนุโพธ, - รานุโพธ : ค. ซึ่งรู้ตามได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
  30. ทุราชาน : ค. ซึ่งรู้ทั่วถึงได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
  31. ธมฺมวิทู : ค. ผู้รู้ธรรม, ผู้เข้าใจธรรม, ผู้แตกฉานธรรม
  32. นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ, ๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
  33. นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
  34. นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
  35. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  36. ปชานนา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
  37. ปญฺญา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
  38. ปฏิวิชฺฌติ : ก. แทงตลอด, รู้แจ้ง, เข้าใจชัด
  39. ปฏิวิชานาติ : ก. รู้เฉพาะ, เข้าใจชัด
  40. ปฏิวิทิต : กิต. (อันเขา) รู้ชัดแล้ว, เข้าใจชัดแล้ว
  41. ปฏิเวธ : ป. การแทงตลอด, การเข้าใจตลอด, การรู้แจ่มแจ้ง, การบรรลุธรรม
  42. ปฏิสวิทิต : กิต. (อันเขา) ทราบชัดแล้ว, เข้าใจซึ้งแล้ว, รู้แล้ว, เสวย (เวทนา) แล้ว
  43. ปณฺฑิตก : ป. คนที่เข้าใจว่าตนเป็นบัณฑิต, คนเห่อความรู้, คนอวดฉลาด
  44. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  45. ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
  46. ปรเวทิย : ค. ซึ่งผู้อื่นรู้, ซึ่งผู้อื่นเข้าใจ
  47. ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
  48. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  49. ปสฺสิ : ก. เข้าใจ, รู้, พบเห็น, ประสบ
  50. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  51. [1-50] | 51-90

(0.0189 sec)