Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เคยชิน .

Eng-Thai Lexitron Dict : เคยชิน, more than 7 found, display 1-7
  1. wont : (ADJ) ; เคยชิน (คำทางการ) ; Related:เป็นนิสัย ; Syn:accustomed, used to
  2. adjust to : (PHRV) ; เคยชินกับ ; Related:ปรับตัวเข้ากับ, ทำตัวให้เคยชินกับ, คุ้นเคยกับ
  3. accustom to : (PHRV) ; เคยชินกับ ; Related:ชินกับ, ทำให้ชินกับ ; Syn:habituate to, use to
  4. get into the hang of : (IDM) ; เคยชินกับ ; Syn:get of, get out of
  5. get into the way of : (IDM) ; เคยชินกับ ; Related:คุ้นเคยกับ ; Syn:get out of
  6. be accustomed to : (VI) ; เคย ; Related:เคยชิน, คุ้นเคย ; Syn:be used to ; Ant:be unaccustomed to
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : เคยชิน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เคยชิน, more than 7 found, display 1-7
  1. เคยชิน : (V) ; become familiar ; Related:intimate, acquaint, be accustomed, habituate ; Def:เป็นปกติ, เป็นประจำ, เป็นนิสัย, เป็นกิจวัตร ; Samp:เขาเคยชินกับการเป็นพี่ที่ต้องปกป้องดูแลน้องๆ
  2. กลายเป็นนิสัย : (V) ; be habitual ; Related:be accustomed, be customary ; Syn:เคยชิน ; Def:ติดเป็นนิสัย ; Samp:อย่ามาสายบ่อยนะเดี๋ยวจะกลายเป็นนิสัย
  3. คุ้นชิน : (V) ; be familiar ; Related:be accustomed, intimate, get used to, be used to ; Syn:เคยชิน ; Ant:แปลกใหม่ ; Samp:เขาคุ้นชินกับสภาพภูมิอากาศของตำบลนี้เป็นอย่างดี
  4. ความเคยชิน : (N) ; habitude ; Related:custom, usualness ; Syn:ความคุ้นเคย ; Ant:ความไม่คุ้น ; Samp:ความสบายที่เธอได้รับมาตั้งแต่เด็กกลายเป็นความเคยชิน
  5. คุ้นเคย : (V) ; be familiar ; Related:intimate, acquaint, be accustomed, be well-known, habituate ; Syn:เคยชิน, ชอบพอ, คุ้นเคย, สนิท, รู้จักดี ; Ant:แปลกใหม่ ; Def:รู้จักชอบพอสนิทสนมเป็นกันเอง, เคยเห็นเคยทำบ่อยๆ จนชิน ; Samp:คนอินเดียส่วนใหญ่ยังเป็นชาวชนบทที่ไม่คุ้นเคยกับรถยนต์
  6. ชาชิน : (V) ; be used to ; Related:be accustomed to, be familiar with ; Syn:ชิน, เคยชิน ; Samp:แม่ชาชินเสียแล้วกับการหึงอย่างไร้เหตุผลของพ่อ
  7. ชิน : (V) ; be accustomed to ; Related:be used to, be familiar with ; Syn:คุ้น, เคย, เจน, เคยชิน, คุ้นชิน ; Def:มีประสบการณ์มาแล้วจนชำนาญ ; Samp:ผมเริ่มชินกับลีลาการเล่านิทานของวิทยากรแต่ละท่าน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เคยชิน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เคยชิน, 5 found, display 1-5
  1. ดื้อด้าน : ว. ดื้อเสียจนเคยชิน.
  2. นิสัย : น. ความประพฤติที่เคยชิน เช่น ทําจนเป็นนิสัย; ที่พึ่ง, ที่พักพิง, ที่อาศัย, เช่น ขอนิสัยในการอุปสมบท. (ป. นิสฺสย).
  3. บาง ๑ : น. ทางนํ้าเล็ก ๆ, ทางนํ้าเล็กที่ไหลขึ้นลงตามระดับนํ้าในแม่นํ้า ลําคลอง หรือทะเล; ตําบลบ้านที่อยู่หรือเคยอยู่ริมบางหรือใน บริเวณที่เคยเป็นบางมาก่อน, โดยปริยายหมายถึงทั้งหมู่ เช่น ฆ่าล้างบาง ย้ายล้างบาง. ว. มีส่วนสูงน้อยจากผิวพื้น, ไม่หนา, มีความหนาน้อย, เช่น มีดบาง ผ้าบาง, โดยปริยายหมายถึง ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผสมสุราแต่น้อย ๆ ไม่เข้มข้น เรียกว่า ผสมแต่บาง ๆ, แทงลูกบิลเลียดไปถูกอีกลูกหนึ่งเพียงผิว ๆ เรียกว่า แทงบางไป, เรียกผู้ที่มีผมน้อยกว่าปรกติว่า ผมบาง, เรียกผู้ ที่อายง่ายกว่าปรกติ คือไม่ควรละอาย กลับอายว่า หน้าบาง, ตรงข้าม กับ หน้าหนา, เรียกผู้ที่มีรูปร่างอ้อนแอ้นสะโอดสะองว่า เอวเล็ก เอวบาง หรือเอวบางร่างน้อย, เรียกคนอ่อนแอทนความลําบากไม่ได้ เพราะไม่เคยชินว่า คนผิวบาง.
  4. หลับตา : ก. ปิดกลีบตา, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ อย่างง่าย ๆ เพราะมีความเคยชินหรือมีความชำนาญมาก เช่น เรื่องอย่างนี้ หลับตาทำก็ได้; อาการที่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างลวก ๆ ไม่เรียบร้อย เช่น ทำรายงานอย่างกับหลับตาทำ, เดา เช่น หลับตาพูด.
  5. อุปนิสัย : [อุปะนิไส, อุบปะนิไส] น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาใน สันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้อง ทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจน เกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. (ป. อุปนิสฺสย).

Budhism Thai-Thai Dict : เคยชิน, 5 found, display 1-5
  1. นิสัย : 1.ที่พึ่ง, ที่อาศัย เช่น ขอนิสัยในการอุปสมบท (คือกล่าวคำขอร้องต่ออุปัชฌาย์ในพิธีอุปสมบท ขอให้ท่านเป็นที่พึ่ง ที่อาศัยของตน ทำหน้าที่ปกครองสั่งสอนให้การศึกษาอบรมต่อไป) อาจารย์ผู้ให้นิสัย (อาจารย์ผู้รับที่จะทำหน้าที่เป็นที่พึ่ง ที่อาศัยปกครองแนะนำในการศึกษาอบรม) 2.ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต ๔ อย่าง คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช 3.ความประพฤติที่เคยชิน เช่น ทำจนเป็นนิสัย
  2. พหุลกรรม : กรรมทำมาก หรือกรรมชิน ได้แก่ กรรมทั้งที่เป็นกุศลและอกุศลที่ทำบ่อยๆ จนเคยชิน ย่อมให้ผลก่อนกรรมอื่น เว้นครุกรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาจิณณกรรม (ข้อ ๑๐ ในกรรม ๑๒)
  3. วาสนา : อาการกายวาจา ที่เป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็นเวลานานจนเคยชินติดเป็นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็ว หรือเดินต้วมเตี้ยม เป็นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็นกุศล ก็มี เป็นอกุศล ก็มี เป็นอัพยากฤต คือ เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ก็มี ที่เป็นกุศลกับอัพยากฤตนั้น ไม่ต้องละ แต่ที่เป็นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆ ต่างๆ ส่วนแรก พระอรหันต์ทุกองค์ละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมีคำกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ
  4. อาจิณณจริยา : ความประพฤติเนืองๆ, ความประพฤติประจำ, ความประพฤติที่เคยชิน
  5. อุปนิสัย : ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน, ความดีที่เป็นทุนหรือเป็นพื้นอยู่ในจิต, ธรรมที่เป็นเครื่องอุดหนุน

ETipitaka Pali-Thai Dict : เคยชิน, 5 found, display 1-5
  1. ปริจินาติ : ก. ประพฤติรอบคอบ, สะสม, ตั้งใจ, เคยชิน
  2. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  3. ปริจิณฺณ : กิต. ประพฤติรอบคอบแล้ว, สะสมแล้ว, ตั้งใจแล้ว, เคยชินแล้ว
  4. ยานีกต : ค. ทำให้ชำนาญแล้ว, ทำให้เคยชินแล้ว
  5. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เคยชิน, not found

(0.0345 sec)