Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องเจาะ, เครื่อง, เจาะ , then ครอง, ครองจา, เครื่อง, เครื่องเจาะ, จา, เจา, เจาะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องเจาะ, 958 found, display 1-50
  1. อาราหตฺถ : ป. เครื่องเจาะ, สว่าน, บิดหล่า
  2. อาวิธ : ป. เครื่องเจาะ, เครื่องไช, สิ่ว, สว่าน
  3. มณิเวธ : (ปุ.) เครื่องมือเจียระ ไนแก้ว, เครื่องเจียระไนแก้ว, เพชร (เจาะแก้ว).
  4. กนฺตติ : ก. ตัด; ปั่น; สลัก; เจาะ
  5. ขาท : (วิ.) ขุด, เจาะ, ไช. ขณุ ขนุ ธาตุ ท ปัจ.
  6. ตุทติ : ก. ต่ำ, แทง, เจาะ, ลับ
  7. นิพฺพิชฺฌติ : ก. ทำให้แตกออก, เจาะ, ไช, ทำลาย
  8. เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
  9. วิชฺฌติ : ก. ยิง, แทง, เจาะ
  10. วิตุทติ : ก. แทง, เจาะ, สะกิด
  11. เวธติ : ก. สั่น, เจาะ, แทง
  12. อาวิชฺฌติ : ก. หมุนเวียน, วนเวียน; แทง, เจาะ, ไช, ดึง, ลาก
  13. อาวุณาติ : ก. ร้อยรัด, เย็บ, ร้อยเข้ากัน, เสียบ, เจาะ, ไช
  14. โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
  15. กญฺจุก : (ปุ.) ผ้า, ผ้าโพกหัว, หมวก, เสื้อ, เสื้อกั๊ก, เกราะ, หีบ, ซอง, ฝักมีด, เครื่อง ปกคลุม, คราบงู. กจฺ พนฺธเน, อุโก, นิคฺคหิตาคโม.
  16. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  17. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  18. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  19. อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
  20. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  21. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  22. จาลนี : อิต. เครื่องกรอง (ยา), ตะแกรงร่อนยา
  23. กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
  24. คิหิพนฺธน : นป. พันธะของผู้ครองเรือน, เครื่องผูกมัดของคฤหัสถ์
  25. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  26. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  27. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  28. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  29. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  30. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  31. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  32. จุณฺณจาลนี, จุณฺณกจาลนี : อิต. เครื่องกรองยาผง, ตะแกรงร่อนยาผง
  33. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  34. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  35. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  36. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  37. กฏฐิสฺส : นป. ผ้าไหมที่ถักด้วยรัตนะ, เครื่องลาดด้วยแถบไหมติดด้วยรัตนะ
  38. กฏฺฐิสฺ ส : (นปุ.) กัฏฐิสสะ ชื่อเครื่องลาดแกม ไหมด้วย ติดรตนะด้วย. โกสิยสุตฺตกฏฺฐิสฺ สวาเกหิ ปกตํ อตฺถรณํ กฏฺฐิสฺสํ. กฐ ล ปุ.) ก้อนกรวด, กระเบื้อง. กฐิ. โสเก, อโล. ลูกนิ่ว. กฐฺ กิจฺฉชิ่วเน, อโล.
  39. กฏิสุตฺตก : (นปุ.) เครื่องประดับเอว, สายรัด เอว.
  40. กฏุกภณฺฑ : นป. เครื่องเทศ
  41. กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
  42. กณฺฐภูสา : อิต. ผ้าพันคอ, เครื่องประดับคอ
  43. กณฺฐ ภูสา : (อิต.) เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ประคำคอ. ส. กณฺฐภูษา.
  44. กณฺฐสุตฺตก : ป. เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ
  45. กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
  46. กณฺณปูร : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
  47. กณฺณภูสา : (อิต.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
  48. กณฺณเภท : (ปุ.) การเจาะหู.
  49. กณฺณเภทน : (นปุ.) การเจาะหู.
  50. กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-958

(0.1493 sec)