Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เค้า , then คา, เค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เค้า, 257 found, display 1-50
  1. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  2. คา : (อิต.) แผ่นดิน, โลก.
  3. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  4. กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
  5. กาลหส กาฬหส : (ปุ.) หงส์ดำ, นกทิ้งทูด, นกเค้าโมง, นกกลิง, นกกาน้ำ.
  6. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  7. ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
  8. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  9. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  10. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  11. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  12. นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
  13. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  14. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  15. ปภว : (วิ.) เป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิด, เป็นเหตุเกิดก่อน, เป็นเหตุ, เป็นมูลเค้า, เป็นต้นเค้า.
  16. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  17. มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
  18. ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
  19. สมุฏฐาน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อม, ความตั้งขึ้นพร้อม, ที่ตั้ง, เหตุ, เค้าเงื่อน, สมุฎฐาน.
  20. เสตุ : (ปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. สิโนติ ผลนฺติ เสตุ. สิ พนฺธเน, ตุ. สิโนติ ผลํ เอตสฺมาติ เสติ. สิ ปวตฺตเน, ตุ.
  21. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  22. อาปกา, - คา : อิต. แม่น้ำ
  23. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  24. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  25. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  26. คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
  27. คาเหติ : ก. ดู คาหาเปติ
  28. คาถก : นป. คำอันเป็นคาถา
  29. คาถาทฺวย : นป. หมวดสองแห่งคาถา, คาถาสองคาถา
  30. คาถาปท : นป. บาทคาถา, คาถาบาทหนึ่ง
  31. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  32. คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  33. คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  34. คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
  35. คามนฺตร : นป. บ้าน, ละแวกบ้าน, ระหว่างบ้าน
  36. คามิก : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน
  37. คามิ คามินี คามี : (วิ.) มีปกติยัง...ให้ถึง.
  38. คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
  39. คายิกา : อิต. หญิงนักร้อง
  40. คาหก : ค. ผู้ยึด, ผู้ถือ, ผู้แบกหาม
  41. คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
  42. คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
  43. คาหี : (วิ.) ผู้จับ,ฯลฯ. ณี ปัจ.
  44. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  45. โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
  46. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  47. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  48. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  49. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  50. ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-257

(0.0669 sec)