Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เค้าเดิม, เดิม, เค้า , then คา, เค้า, เค้าเดิม, ดม, เดิม, เติม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เค้าเดิม, 314 found, display 1-50
  1. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  2. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  3. คา : (อิต.) แผ่นดิน, โลก.
  4. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  5. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  6. โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
  7. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  8. กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
  9. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  10. กรณี : (อิต.) คดี, เรื่อง, เรื่องเดิม, มูล, เหตุ. ส. กรณี.
  11. กวจ : (วิ.) ด่าง (เป็นจุดผิดจากสีพื้นเดิม).
  12. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  13. กาลหส กาฬหส : (ปุ.) หงส์ดำ, นกทิ้งทูด, นกเค้าโมง, นกกลิง, นกกาน้ำ.
  14. โกลิต : (ปุ.) โกลิตะ ชื่อเดิมของพระโมคคัล- ลานะ วิ. กุเล ชายตีติ โกลิโก. โส เอว โกลิโต. อตฺตโน คุณํ กูลตีติ วา โกลิโต. กุลฺ ปตฺถรเณ, อิโต.
  15. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  16. จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
  17. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  18. ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
  19. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  20. ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
  21. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  22. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  23. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  24. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  25. นิคมคาถา : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  26. นิทานกถา : อิต. การเล่าเรื่อง, การปรารภ, การกล่าวถึงเรื่องเดิม
  27. นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
  28. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  29. ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
  30. ปณิตก : ค., นป. ซึ่งพนันกันแล้ว, ซึ่งวางเดิมพันแล้ว; ของพนัน, เงินเดิมพัน
  31. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  32. ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
  33. ปภว : (วิ.) เป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิด, เป็นเหตุเกิดก่อน, เป็นเหตุ, เป็นมูลเค้า, เป็นต้นเค้า.
  34. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  35. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  36. เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
  37. มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
  38. มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
  39. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  40. มูลปริยาย : (ปุ.) การเล่าเรื่องเดิม, การเล่าเรื่องเกี่ยวกับมูลเหตุของธรรมทั้งหลาย.
  41. ยถาโปราณ : (วิ.) เหมือนเดิม.
  42. ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
  43. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  44. สมุฏฐาน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อม, ความตั้งขึ้นพร้อม, ที่ตั้ง, เหตุ, เค้าเงื่อน, สมุฎฐาน.
  45. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  46. เสตุ : (ปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. สิโนติ ผลนฺติ เสตุ. สิ พนฺธเน, ตุ. สิโนติ ผลํ เอตสฺมาติ เสติ. สิ ปวตฺตเน, ตุ.
  47. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  48. อพฺภูต : ป. ๑. ความอัศจรรย์ ; ๒. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน
  49. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  50. อายตก : (วิ.) เดิม, กว้าง, ฯลฯ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-314

(0.0831 sec)