Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เงินสะสม, เงิน, สะสม , then งน, เงิน, เงินสะสม, เงีน, สสม, สะสม, สาสม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เงินสะสม, 88 found, display 1-50
  1. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  2. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  3. นิจิต : (วิ.) สะสมแล้ว, สะสม, หอมยับ (รวม เก็บไว้).
  4. ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
  5. ปริจินาติ : ก. ประพฤติรอบคอบ, สะสม, ตั้งใจ, เคยชิน
  6. รูปิย : นป. แร่เงินแร่ทอง, เงิน, เงินตรา, เหรียญ
  7. วิจินาติ : ก. ค้นคว้า, สะสม
  8. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  9. ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
  10. คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
  11. ธน : (นปุ.) เงิน, ทรัพย์, สิน (เงิน ทรัพย์), สินทรัพย์. สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ. อภิฯ วิ. มม อิทนฺติ ธนายิตพฺพํ สทฺทายิตพฺพนฺติ ธนํ. ธนฺ ธญฺเญ, สทฺเท วา, อ. เวสฯ ๔๘๗ วิ. ธนียติ อิจฺฉียตีติ ธนํ. ธนฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ธน, ทฺรวฺย.
  12. รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น รชฏ บ้าง.
  13. สชฺฌุ : นป. เงิน
  14. สญฺจินาติ : ก. สะสม
  15. หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
  16. อินฺทุโลหก : นป. เงิน
  17. กงฺกุฏฐก : นป. ดินสีทองสีเงิน
  18. กมฺมุปจย : ป. การสะสมกรรม, การก่อสร้างกรรม
  19. กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
  20. กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
  21. กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
  22. กุปฺป : (นปุ.) มูลแร่ (นอกจากทองคำและเงิน). คุปฺ รกฺนขเณ, อ, ทฺวิตฺติ.
  23. ขีรมูล : นป. ค่าน้ำนม, เงินสำหรับซื้อน้ำนม
  24. คนฺธสนฺนิธิ : ป. การสะสมของหอม
  25. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  26. จิตกา : (อิต.) ทราย (ไหลมาสะสม).
  27. จิติ : อิต. ความสั่งสม, ความสะสม; กอง, ก้อน
  28. จิน : (นปุ.) การก่อ, การก่อสร้าง, การสะสม, การสั่งสม. จิ จเย, ยุ.
  29. จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
  30. เจยฺย : (วิ.) อัน...พึงสะสม. จิ จเย, โณฺย.
  31. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  32. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  33. ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณ : (นปุ.) การรับทอง และเงิน.
  34. ฏงฺกก : ป. เงินเหรียญ
  35. ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
  36. ธนาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนแห่งเงิน,คลังแห่งเงิน,ธนาคารชื่อสถานที่ทำการค้าด้วยเงินคือรับฝากและให้กู้เงิน.ส.ธนาคาร
  37. ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
  38. ธนี : (วิ.) มีทรัพย์, มีเงิน, มั่งคั่ง. วิ ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธนี. อี ปัจ. ตทัสสัตถีคัท. ส. ธนินฺ.
  39. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  40. นิกฺขิก : (ปุ.) พนักงานคลังเงินทอง, เจ้าหน้าที่ การเงิน, เหรัญญิก. วิ. นิกฺเข นิโยโค นิกฺขิโก.
  41. นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
  42. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  43. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  44. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  45. นิจินาติ : ก. สะสม, รวบรวม, ก่อ
  46. นิสงฺขิติ : อิต. การสะสม, การสั่งสม
  47. ปจินาติ : ก. สะสม, ก่อ, เก็บ
  48. ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
  49. ปณิตก : ค., นป. ซึ่งพนันกันแล้ว, ซึ่งวางเดิมพันแล้ว; ของพนัน, เงินเดิมพัน
  50. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  51. [1-50] | 51-88

(0.0668 sec)