Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจาะ , then จา, เจา, เจาะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจาะ, 248 found, display 1-50
  1. กนฺตติ : ก. ตัด; ปั่น; สลัก; เจาะ
  2. ขาท : (วิ.) ขุด, เจาะ, ไช. ขณุ ขนุ ธาตุ ท ปัจ.
  3. ตุทติ : ก. ต่ำ, แทง, เจาะ, ลับ
  4. นิพฺพิชฺฌติ : ก. ทำให้แตกออก, เจาะ, ไช, ทำลาย
  5. เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
  6. วิชฺฌติ : ก. ยิง, แทง, เจาะ
  7. วิตุทติ : ก. แทง, เจาะ, สะกิด
  8. เวธติ : ก. สั่น, เจาะ, แทง
  9. อาวิชฺฌติ : ก. หมุนเวียน, วนเวียน; แทง, เจาะ, ไช, ดึง, ลาก
  10. อาวุณาติ : ก. ร้อยรัด, เย็บ, ร้อยเข้ากัน, เสียบ, เจาะ, ไช
  11. โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
  12. กณฺณเภท : (ปุ.) การเจาะหู.
  13. กณฺณเภทน : (นปุ.) การเจาะหู.
  14. ขติ : (อิต.) การขุด, การเจาะ, การไช. ขนุ+ ติปัจ. ลบ นุ.
  15. ฉิชฺชติ : ๑. ก. อันเขาตัด, อันเขาทำให้แตก, อันเขาฉีก, อันเขาทำให้ขาด, อันเขาทำลาย, อันเขาเจาะ; ๒. ตัด, แตก, ฉีก, ขาด, ทำลาย
  16. ฉิทฺทิต : ค. อันเขาตัดแล้ว, อันเขาทำแตกแล้ว, อันเขาฉีกแล้ว, อันเขาเจาะแล้ว
  17. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  18. ตุชฺชติ : ก. อัน...แทง, อัน...ตำ, อัน...เจาะ, ถูกแทง, ถูกตำ, ถูกเจาะ
  19. ตุทน : นป. การต่ำ, การแทง, การเจาะ
  20. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  21. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  22. นิตฺตุทน : นป. การเจาะ, การแทง, การตำ, การไช
  23. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  24. นิพฺพิทฺธ : ค. อัน...ทำให้แตก, อัน...เจาะไช, อัน...ทำลาย
  25. นิพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะ, การเจาะออก, การชำแรก, การแหวก, ความเจาะออก, ฯลฯ, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. นิปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  26. นิวิชฺฌ : ค.อันเขาเจาะหรือแทง; ยากที่จะแทงตลอด
  27. ปาเรติ : ก. เจาะ, ไช, แทง
  28. พฺยธ : (ปุ.) การเจาะ, การแทง, การไช. วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  29. มณิเวธ : (ปุ.) เครื่องมือเจียระ ไนแก้ว, เครื่องเจียระไนแก้ว, เพชร (เจาะแก้ว).
  30. ยถานุรูป : (วิ.) พอสมควร, พอเหมาะ, พอเหมาะพอเจาะ, พอเหมาะพอเจาะกัน.
  31. วฺยธ : ป. การเจาะ, การแทง
  32. วิตุทน : นป. การแทง, การเจาะ, การสะกิด
  33. วิตุนฺน : กิต. แทงแล้ว, เจาะแล้ว, สะกิดแล้ว
  34. เวธ : ป. การเจาะ, การแทง
  35. เวธิต : กิต. เจาะแล้ว
  36. เวธี : ป. ผู้ยิง, ผู้เจาะ
  37. สุจิวิชฺฌน : (นปุ.) เหล็กแหลม, เหล็กเจาะ, เหล็กหมาด, สว่าน.
  38. อนุขณติ : ก. ขุด, เจาะลงไป
  39. อนุวิชฺฌติ : ก. ๑. แทง. เจาะ, ไช ; ๒. รู้แจ้ง, แทงตลอด
  40. อภินิพฺพิชฺฌติ : ก. เจาะ, แทง, ไช
  41. อภิวิชฺฌติ : ก. เจาะ, แทง, ไช
  42. อวทารณ : (วิ.) ขุด, เจาะไช, เซาะ, เซาะลง, ทำลาย.
  43. อารญฺชิต : ๑. นป. แผลเป็น, รอยตำหนิ, รอยขีด; ๒. กิต. ถูกแทงแล้ว, ถูกเจาะแล้ว
  44. อารา : (อิต.) เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม.อรฺคมเน, โณ, อิตฺถิยํอา.อภิฯลงอปัจ.
  45. อาราหตฺถ : ป. เครื่องเจาะ, สว่าน, บิดหล่า
  46. อาวิชฺฌนก : นป., ค. สิ่งที่หมุนไปรอบๆ, ที่สำหรับชัก (เชือก) ; ซึ่งเจาะไช, ซึ่งหมุนไปรอบๆ
  47. อาวิธ : ป. เครื่องเจาะ, เครื่องไช, สิ่ว, สว่าน
  48. อุพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะขึ้น, การไชขี้น, การแทงขึ้น, การสูงขึ้น, การพวยพุ่ง. อุปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  49. โอวิชฺฌติ : ก. เจาะ, ไช
  50. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-248

(0.0649 sec)