Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉา , then ฉา, เฉ, เฉา .

Eng-Thai Lexitron Dict : เฉา, more than 7 found, display 1-7
  1. wilt : (VI) ; เฉา ; Related:เหี่ยว, โรย ; Syn:shrivel, wither, wizen
  2. askew : (ADV) ; เฉ ; Related:เอียง, เอียงไปข้างเดียว ; Syn:awry
  3. askew : (ADJ) ; เฉ ; Related:เอียง, เอียงไปข้างเดียว ; Syn:awry, aslant, to one side
  4. die back : (PHRV) ; เหี่ยวเฉา ; Syn:die down
  5. wilt : (N) ; โรคเหี่ยวเฉาของพืช
  6. wilt : (N) ; การเฉาของพืช ; Related:การเหี่ยวแห้งของพืช
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : เฉา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เฉา, more than 7 found, display 1-7
  1. เฉา : (V) ; wither ; Related:wilt, droop, shrivel, dry out ; Syn:เหี่ยว, เหี่ยวเฉา ; Ant:สด, ใหม่ ; Samp:ต้นไม้ในกระถางเฉาเพราะเจ้าของไม่ใส่ใจที่จะรดน้ำ
  2. เฉา : (V) ; fade ; Related:decline, flag ; Syn:ร่วงโรย, ไม่สดชื่น ; Ant:สด, ใหม่ ; Samp:เธอตระหนักดีว่าความสวยงามที่มีอยู่จะต้องเฉาไปตามวันเวลา
  3. เหี่ยวเฉา : (V) ; wither ; Related:wilt, droop, shrivel, dry out, languish, deteriorate ; Syn:เหี่ยว, เฉา ; Ant:สด, ใหม่ ; Def:ไม่สดชื่น, ไม่เต่งตึง ; Samp:ต้นไม้ที่ถูกถอนรากย่อมเหี่ยวเฉา ถ้าเอาลงปลูกในที่ดีๆ มีคนดูแลก็อาจรอด
  4. สลด : (V) ; wither ; Syn:เฉา, เหี่ยว ; Samp:ถ้าผักสลดแล้วก็ยกขึ้นจากเตาได้เลย
  5. เหี่ยว : (V) ; wither ; Related:wilt, droop, shrivel, dry out, languish, deteriorate ; Syn:เฉา, เหี่ยวเฉา ; Ant:สด, ใหม่, เต่งตึง ; Def:ไม่สดชื่น, ไม่เต่งตึง ; Samp:ดอกไม้ในแจกันเหี่ยวหมดแล้ว ช่วยเปลี่ยนใหม่ให้ด้วย
  6. เฉ : (ADV) ; slantingly ; Related:deviously, indirectly ; Syn:เบี่ยง, เบี้ยว, เอียง ; Ant:ตรง ; Def:เหไป, ไม่ตรงเส้นตรงแนว ; Samp:เหล้าเข้าปากไม่ทันไร เขาก็เริ่มเดินเฉเสียแล้ว
  7. เฉ : (V) ; slant ; Related:deviate, distort, twist away, out of shape ; Syn:เบี่ยง, เบี้ยว, เอียง ; Ant:ตรง ; Def:เหไป, ไม่ตรงเส้นตรงแนว ; Samp:เขาเคยเอาไม้ตะเกียบทิ่มหน้าเพื่อน แต่บังเอิญมันเฉไปโดนนัยน์ตาจนเพื่อนคนนั้นร้องไห้จ้า
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เฉา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เฉา, more than 5 found, display 1-5
  1. เฉา : ก. เหี่ยว, ไม่สดชื่น.
  2. เฉาฮื้อ : น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Ctenopharyngodon idellus ในวงศ์ Cyprinidae ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด ที่สําคัญคือ ลําตัวยาว ท้องกลม เกล็ดใหญ่เรียบ ลําตัวสีเงินอาศัยหากินพืชน้ำอยู่ใกล้ผิวน้า มีถิ่นเดิมอยู่ใน ประเทศจีน นําเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหาร.
  3. สลด : [สะหฺลด] ก. สังเวชใจ, รู้สึกรันทดใจ; เผือด, ถอดสี, เช่น หน้าสลด; เฉา, เหี่ยว, (ใช้แก่ใบไม้ดอกไม้ซึ่งขาดนํ้าเลี้ยงหรือถูกความร้อน) เช่น ต้นไม้ถูกความร้อนมาก ๆ ใบสลด.
  4. เฉ : ว. เหไป, ไม่ตรงเส้นตรงแนว.
  5. กระอ้า : น. โรคพืชชนิดหนึ่งเกิดแก่ใบยาสูบ ทําให้ใบเฉาเหี่ยวแห้ง หรือตายนึ่ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เฉา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เฉา, 7 found, display 1-7
  1. สเตกิจฉา : อาบัติที่ยังพอเยียวยาหรือแก้ไขได้ ได้แก่ อาบัติอย่างกลางและอย่างเบา คือตั้งแต่สังฆาทิเสสลงมา; คู่กับ อเตกิจฉา
  2. อเตกิจฉา : แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้ หมายถึงอาบัติมีโทษหนักถึงที่สุด ต้องแล้วขาดจากความเป็นภิกษุ คือ อาบัติปาราชิก คู่กับ สเตกิจฉา
  3. วัตรบท ๗ : หลักปฏิบัติ หรือข้อที่ถือปฏิบัติประจำ ๗ อย่าง ที่ทำให้มฆมาณพได้เป็นท้าวสักกะหรือพระอินทร์คือ ๑.มาตาเปติภโร เลี้ยงมารดาบิดา ๒.กุเลเชฏฺฐาปจายี เคารพผู้ใหญ่ในตระกูล ๓.สณฺหวาโจ หรือ เปสุเณยฺยปฺปหายี ไม่พูดส่อเสียด พูดสมานสามัคคี ๕.ทานสํวิภาครโต หรือ มจฺเฉรวินย ชอบเผื่อแผ่ให้ปัน ปราศจากความตระหนี่ ๖.สจฺจวาโจ มีวาจาสัตย์ ๗.อโกธโน หรือ โกธาภิกู ไม่โกรธ ระงับความโกรธได้
  4. ศิลปศาสตร์ : ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่างๆ มี ๑๘ ประการ เช่นตำราว่าด้วยการคำนวณ ตำรายิงธนู เป็นต้น อันได้มีการเรียนการสอนกันมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล; ๑๘ ประการนั้น มีหลายแบบ ยกมาดูแบบหนึ่งจากคัมภีร์โลกนิติ และธรรมนิติ ได้แก่ ๑.สูติ ความรู้ทั่วไป ๒.สัมมติ ความรู้กฎธรรมเนียม ๓.สังขยา คำนวณ ๔.โยคยันตร์ การช่างการยนตร์ ๕.นีติ นิติศาสตร์ ๖.วิเสสิกา ความรู้การอันให้เกิดมงคล ๗.คันธัพพา วิชาร้องรำ ๘.คณิกา วิชาบริหารร่างกาย ๙.ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐.ปุราณา โบราณคดี ๑๑.ติกิจฉา วิชาแพทย์ ๑๒.อิติหาสา ตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓.โชติ ดาราศาสตร์ ๑๔.มายา ตำราพิชัยสงคราม ๑๕.ฉันทสา การประพันธ์ ๑๖.เกตุ วิชาพูด ๑๗.มันตา วิชามนต์ ๑๘.สัททา วิชาไวยากรณ์, ทั้ง ๑๘ อย่างนี้โบราณเรียกรวมว่า สิปปะ หรือศิลปะ ไทยแปลออกเป็น ศิลปศาสตร์ (ตำราว่าด้วยศิลปะต่างๆ); แต่ในสมัยปัจจุบัน ได้แยกความหมายศิลปะ กับ ศาสตร์ ออกจากกัน คือ ศิลปะ หมายถึง วิทยาการที่มีวัตถุประสงค์ตรง ความงาม เช่น ดุริยางคศิลป์ นาฏศิลป์ และจิตรกรรม เป็นต้น ศาสตร์ หมายถึง วิทยาการที่มีวัตถุประสงค์ตรงความจริง เช่น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
  5. สังฆาทิเสส : ชื่อหมวดอาบัติหนักรองจากปาราชิก ต้องอยู่กรรมจึงพ้นได้ คือเป็นครุกาบัติ (อาบัติหนัก) แต่ยังเป็นสเตกิจฉา (แก้ไขหรือเยียวยาได้); ตามศัพท์ สังฆาทิเสส แปลว่า หมวดอาบัติอันจำปรารถนาสงฆ์ในกรรมเบื้องต้นและกรรมที่เหลอ, หมายความว่า วิธีการที่จะออกจากอาบัตินี้ ต้องอาศัยสงฆ์ ตั้งแต่ต้นไปจนตลอด กล่าวคือ เริ่มต้นจะอยู่ปริวาส ก็ต้องขอปริวาสจากสงฆ์ ต่อจากนั้น จะประพฤติมานัตก็ต้องอาศัยสงฆ์เป็นผู้ให้ ถ้ามีมูลายปฏิกัสสนาก็ต้องสำเร็จด้วยสงฆ์อีกและท้ายที่สุดก็ต้องขออาภัพภานจากสงฆ์; สิกขาบทที่ภิกษุละเมิดแล้ว จะต้องอาบัติสังฆาทิเสส ใช้เป็นชื่อเรียกสิกขาบท ๑๓ ข้อนี้ด้วย
  6. สุคโต : “เสด็จไปดีแล้ว” คือ ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่อริยมรรค, เสด็จไปด้วยดีโดยชอบ กล่าวคือ ทรงดำเนินรุดหน้าไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว ทรงดำเนินสู่ผลสำเร็จไม่ถอยหลัง ไม่กลับตกจากฐานะที่ลุถึงทรงดำเนินในทางอันถูกต้องคือมัชฌิมาปฏิปทา ไม่เฉเชือนไปในทางผิด คือ กามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค เสด็จไปดี เสด็จที่ใดก็ทรงทำประโยชน์ให้แก่มหาชนในที่นั้น เสด็จไปโดยสวัสดีและนำให้เกิดความสวัสดีแม้แต่พบองคุลิมาลมหาโจรร้าย ก็ทรงกลับใจให้เขากลายเป็นคนดีไม่มีภัยเสด็จผ่านไปแล้วด้วยดี ได้ทรงบำเพ็ญพุทธกิจไว้บริบูรณ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาไว้ เพื่อชาวโลก ให้เป็นเครื่องเผล็ดประโยชน์แก่ประชาชนทั้งปวงผู้เกิดมาในภายหลัง, ทรงมีพระวาจาดี หรือตรัสโดยชอบ คือ ตรัสแต่คำจริงแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ในกาลที่ควรตรัส และแก่บุคคลที่ควรตรัส (ข้อ ๔ ในพุทธคุณ ๙)
  7. อาบัติ : การต้อง, การล่วงละเมิด, โทษที่เกิดแต่การละเมิดสิกขาบท; อาบัติ ๗ คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ ทุพภาสิต; อาบัติ ๗ กองนี้จัดรวมเป็นประเภทได้หลายอย่าง โดยมากจัดเป็น ๒ เช่น ๑) ครุกาบัติ อาบัติหนัก (ปาราชิกและสังฆาทิเสส) ๒) ลหุกาบัติ อาบัติเบา (อาบัติ ๕ อย่างที่เหลือ); คู่ต่อไปนี้ก็เหมือนกัน คือ ๑) ทุฏฐลลาบัติ อาบัติไม่ชั่วหยาบ; ๑) อเทสนนาคามินี อาบัติที่ไม่พ้นได้ด้วยการแสดง ๒) เทสนาคามินี อาบัติที่พ้นได้ด้วยการแสดงคือเปิดเผยความผิดของตน; คู่ต่อไปนี้จัดต่างออกไปอีกแบบหนึ่งตรงกันทั้งหมด คือ ๑) อเตกิจฉา เยียวยาแก้ไขไม่ได้ (ปาราชิก) ๒) สเตกิจฉา เยียวยาแก้ไขได้ (อาบัติ ๖ อย่างที่เหลือ); ๑) อนวเสส ไม่มีส่วนเหลือ ๒) สาวเสส ยังมีส่วนเหลือ; ๑) อัปปฏิกัมม์หรืออปฏิกรรม ทำคืนไม่ได้คือแก้ไขไม่ได้ ๒) สัปปฏิกัมม์ หรือ สปฏิกรรม ยังทำคืนได้ คือแก้ไขได้

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉา, more than 5 found, display 1-5
  1. มิยฺยติ : ก. ตาย, เหี่ยวแห้ง, เฉา
  2. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  3. ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
  4. ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
  5. ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เฉา, 6 found, display 1-6
  1. กลบ, ปิด : ฉาเทติ
  2. การเยียวยา : ติกิจฺฉา, ปติกริยา
  3. การลัก, แย่งชิง : อจฺเฉทน [นป.]
  4. กำหนด : ปริจฺเฉโท, องฺกติ
  5. ตะโกน : มหาสทฺทํ นิจฺฉาเทสิ
  6. สงสัย : วิจิกิจฺฉา, เวมติก

(0.1522 sec)