Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชื้อ , then ชอ, เชื้อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชื้อ, 187 found, display 1-50
  1. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  2. อินฺธน : (นปุ.) การจุดไฟ, เชื้อ, เชื้อไฟ, ไม้ สำหรับติดไฟ, ฟืน. วิ. เอธยเตติ อินฺธนํ. เอธฺ วุทฺธิยํ, ยุ, เอสฺส อิ (แปลง เอ เป็น อิ), พินฺทฺวาคโม (นิคคหิต อาคม). ส. อินธน.
  3. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  4. กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่ากอแห่งกัจจะ, คนเป็นเชื้อวงศ์แห่งกัจจะ. แปลง กจฺจายน เป็น กาติยาน.
  5. กาติยานี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอแห่งกัจจะ, หญิงผู้เป็นเชื้อสายในวงศ์กัจจะ.
  6. โกรพฺย, - วฺย : ค., ป. ผู้เป็นเหล่ากอแห่งกุรุ, ผู้สืบเชื้อสายมาแต่เผ่ากุรุ; เป็นชาวแคว้นกุรุ; เหล่ากอแห่งกุรุ, ชาวแคว้นกุรุ
  7. โกรว โกรพฺย : (ปุ.) เชื้อสายของเท้ากุรุ วิ. กุรุโน อปจฺจํ ปุตฺโต วา โกรโว โกรพฺย วา. ณ, ณฺย ปัจ.
  8. โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
  9. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  10. โคตถุล : (ปุ.) เชื้อชาติ, วงศ์ตระกูล. โคตฺถํ ลาตีติ โคตฺถุโล. โคตฺถุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ. โคตฺถุ วํเส, อโล. รูปฯ ๖๕๙.
  11. นิมนฺต : (ปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  12. นิมนฺตก : ค. ผู้นิมนต์, ผู้เชื้อเชิญ
  13. นิมนฺตน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  14. นิมนฺตนิก : ค. ผู้นิมนต์, ผู้เชื้อเชิญ
  15. นิมนฺติต : ค. ซึ่งถูกนิมนต์, ซึ่งถูกเชื้อเชิญ
  16. นิมนฺเตติ : ก. นิมนต์, เชื้อเชิญ
  17. นิรินฺธน : (วิ.) มีเชื้อออกแล้ว, ไม่มีเชื้อ, หมด เชื้อ, สิ้นเชื้อ, ไร้เชื้อ, ปราศจากเชื้อ. นิ+อินฺธน รฺ อาคม.
  18. นิลฺลจฺเฉติ : ก. ตอน, ทำให้หมดเชื้อ
  19. นิลิจฺฉิต : ค. อันเขาตอนแล้ว, ซึ่งหมดเชื้อ
  20. ปปา : (อิต.) บ่อน้ำ, โรงไว้น้ำดื่ม, ประปา ชื่อของน้ำที่กรองและฆ่าเชื้อโรคแล้ว. วิ. ปํปิวนฺตฺยสฺส มิติ ปปา. ปสทฺทุปปทํ. ปา ปาเน, อ. ส. ปฺรปา.
  21. ปวาเรติ : ก. ปวารณา, เชื้อเชิญ, ทำให้พอใจ, ให้โอกาส, ทำพิธีกรรมเกี่ยวกับปวารณา
  22. ปเวณิ : อิต. ช้องผม, ผมที่ผูกไว้หรือมวยผม; เชื้อสาย, ประเวณี, ประเพณี ; เสื่อ, เครื่องลาด
  23. ปุจฺฉติ : ก. ถาม, สอบสวน, เชื้อเชิญ
  24. ปุจฺฉน : นป., ปุจฺฉา อิต. การถาม, การสอบสวน, การเชื้อเชิญ
  25. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  26. พฺรหฺมนิมนฺตนิก : ค. ผู้เชื้อเชิญพรหม
  27. พีชก : ป. หน่อ, ตาต้นไม้, เชื้อแถว, เด็กเล็กๆ
  28. พุทฺธสุขุมาล : ป. พระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน, ผู้มีเชื้อชาติดี, ผู้ละเมียดละไม
  29. สกิย : (ปุ.) เจ้าศากยะ (ชนชาติผู้ร่วมเชื้อพระวงศ์กับพระพุทธเจ้า) วิ. สเ กฺย ภโว สากิโย, อิโย, ยโลโป, ทีโฆ จ.
  30. สมิธา : (อิต.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. สนฺต มคฺคึ เอธยติ อทฺธยตีติ สมิธา. สนฺตปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, อ. แปลง สนฺต เป็น ส มฺ อาคม อา อิต. ส. สมิธ.
  31. ห โห : (อัพ. นิบาต) โอ แสดงการเชื้อเชิญร้อยเรียก.
  32. หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
  33. องฺกุร : (ปุ.) หน่อ, หน่อไม้, เชื้อสาย. องฺกฺลกฺขเณ, โร, อสฺส อุตฺตํ (แปลง อ เป็น อุ).ส. องฺกุร.
  34. องฺคุร : (ปุ.) หน่อ, หน่อไม้, เชื้อสาย.องฺกุรศัพท์ แปลง กุ เป็น คุ.
  35. อชฺฌิฏฺฐ : กิต. อาราธนาแล้ว, เชื้อเชิญแล้ว
  36. อชฺเฌน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเรียน, การเล่าเรียน, การท่อง, การสวด, การศึกษา.อธิ+อ+ยุแปลงอธิเป็นอชฺฌอิเป็นเอยุเป็นอน.
  37. อชฺเฌสนฺติ : ก. เชื้อเชิญ
  38. อชฺเฌสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องเชื้อเชิญ, การเชื้อเชิญ, การอาราธนา, การแสวงหาอธิปุพฺโพ, อิสฺ เอสฺ วา คเวสเน, ยุ, อิตฺถิยํอา.
  39. อนฺวย : (ปุ.) การเป็นไปตาม, การอนุโลมตาม, ความเป็นไปตาม, ความอนุโลมตาม, การสืบสาย, เชื้อสาย, วงศ์.อนุปุพฺโพ, อิ คติยํ, อ.ส. อนฺวย.
  40. อนสฺสาวี : ค. ๑. ซึ่งไม่มีอาสวะ, อันหาเชื้อมิได้; ๒.ไม่ชอบใจ
  41. อนุปหาร : ก. ไม่มีอาหาร, ไม่มีเชื้อ
  42. อนุปาทานปรินิพฺพาน : (นปุ.) อนุปาทานปรินิพพาน คือการดับกิเลสไม่มีเชื้อเหลือ.
  43. อนุวส : (ปุ.) เชื้อสายที่สืบมาโดยลำดับ, วงศ์น้อยที่สืบมาจากวงศ์ใหญ่.ส.อนุวํศ.
  44. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  45. อเนธ : ค. ไม่มีเชื้อ
  46. อปจฺจ : (นปุ.) เหล่ากอ, เทือกเถาเหล่ากอ, เชื้อสาย, หว่านเครือ, ลูกหลาน, ลูก, บุตร.วิ.นรเกนปตติอเนนปชาชาเตนาติอปจฺจํ.
  47. อภินิมนฺตนตา : อิต. การนิมนต์, การเชื้อเชิญ, การกล่าวต้อนรับ
  48. อภินิมนฺเตติ : ค. เชื้อเชิญ, การนิมนต์, ชักชวน
  49. อาจริยวส : ป. วงศ์ตระกูล - , เชื้อสายของอาจารย์
  50. อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-187

(0.0109 sec)