Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เช้า , then ชา, เช้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เช้า, 328 found, display 1-50
  1. ปภาต : (นปุ.) เช้า วิ. ปภาตฺยสฺมึ โลโกติ ปภาตํ. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โต.
  2. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  3. กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
  4. กรญฺช : ป. ไม้กะเช้า ; ไม้กุ่ม
  5. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  6. นตฺตมาล : ป. ต้นกุ่ม, ไม้กะเช้า
  7. ปจฺจูส : ป. ใกล้รุ่ง, เช้าตรู่
  8. ปจฺจูสกาล : ป. รุ่งสว่าง, เช้ามืด
  9. ปณฺห : นป. เช้า, เวลาเช้า
  10. ปาตราส : ป. อาหารเช้า
  11. ปาโต, ปาโตว : อ. เช้า, แต่เช้าตรู่
  12. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  13. ปุพฺพพุฏฺฐายี : ค. ผู้ลุกขึ้นแต่เช้า, ผู้ลุกขึ้นก่อน, ผู้ตื่นก่อน
  14. ภุตฺตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้าอันบริโภคแล้ว.
  15. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  16. สุริยุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์, เวลาเช้า, เวลาได้อรุณ.
  17. อชฺชกาล : ก. วิ. ในกาลวันนี้, เมื่อเช้านี้
  18. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  19. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  20. อติปฺปเคว : (อัพ. นิบาต) เช้านัก.
  21. อติปฺปโค : อ. เช้าตรู่, เช้ามาก
  22. อติปาโต : อ. เช้าตรู่, แต่เช้า
  23. อติอุสฺสุร : ค. เช้าตรู่
  24. อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
  25. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  26. ชาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์ ชาตบุษย์ ชื่อบัว, ต้น ผักชีล้อม.
  27. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  28. ชาติสมฺภว : ป. ดู ชาติปภว
  29. ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
  30. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  31. ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
  32. ชาลี : (วิ.) มีข่าย วิ. ชาล มสฺส อตฺถีติ ชาลี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  33. ชาชี : (ปุ.) ทหารกล้าศึก. ชชฺ ยุทฺเธ, ณี.
  34. ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
  35. ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
  36. ชาตกภาณก : ค. ผู้เล่าชาดก
  37. ชาตาปจฺจา : อิต. หญิงคลอดลูก
  38. ชาติก : ค. มีชาติกำเนิด
  39. ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
  40. ชาติกฺเขตฺต : นป. ที่เกิด, ภพที่เกิด
  41. ชาติชรูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงชาติและชรา.
  42. ชาติปภว : ป. ต้นเหตุแห่งชาติ, มูลเหตุที่ให้เกิด
  43. ชาติปุปฺผ, ชาติผล : นป. ดู ชาติโกส
  44. ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
  45. ชาติมณิ : ป. แก้วมณีที่มีค่าล้ำ, แก้วมณีมีค่ามาก
  46. ชาติมนฺตุ : ค. ผู้มีชาติดี, ผู้มีกำเนิดดี, ผู้มีตระกูลสูง
  47. ชาติมย : ค. สำเร็จแต่ชาติ, เกิดมาถูกต้องโดยสัญชาติ
  48. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  49. ชาติสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยชาติ, ผู้เกิดมาดี, ผู้มีตระกูล
  50. ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-328

(0.0605 sec)