Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เซ็นชื่อ, เซ็น, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, ซน, ซนชอ, เซ็น, เซ็นชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เซ็นชื่อ, 1099 found, display 1-50
  1. หตฺถลญฺจน หตฺถลญฺฉน : (นปุ.) ลายเซ็น, ลายมือ, ลายมือชื่อ.
  2. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  3. นามเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลพึงทรงไว้, การตั้งชื่อ, การทรงชื่อ, ชื่อ, นามไธย (ตั้งชื่อ). ส. นามเธย.
  4. ปรมาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออย่างยิ่ง, ชื่อ, ปรมา- ภิไธย (ชื่อ ) ใช้เฉพาะพระเจ้าแผ่นดิน.
  5. ส.นาม. นามกร : (ปุ.) อันกระทำซึ่งชื่อ, การทำซึ่งชื่อ, ชื่อ, นามกร. ส.นามกรณ.
  6. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  7. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น ย แปลง ย เป็น ป.
  8. กกจ : (ปุ.) เลื่อย, ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, สวาด ชื่อ ไม้เถา มีหนาม. กจฺ พนฺธเน, อ, ทฺวิตฺตํ แปลง ก เป็น กก.
  9. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  10. กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
  11. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  12. กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
  13. กุเวร : (ปุ.) กุเวร ท้าวกุเวร ชื่อท้าวจตุโลกบาล องค์ที่ ๔ ประจำทิศอุดร องค์นี้มี ๔ ชื่อ คือ ยกฺขาธิป เวสฺสวณ กุเวร นรวาหน วิ. กุจฺฉิโต เวโร สรีร มสฺสาติ กุเวโร.
  14. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  15. เกตุมาลา : (อิต.) พระเกตุมาลา ชื่อ รัศมีมีซึ่ง เปล่งอยู่เหนือพระเศียรของพระพุทธเจ้า.
  16. ขชฺชนฺตร : (นปุ.) ขัชชันตระ ขัชชันดร ชื่อ ขนมหวานชนิดหนึ่ง.
  17. ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
  18. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  19. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  20. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  21. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  22. จกฺกปาณิ : (ปุ.) พระจักกปาณิ (ผู้มีจักรใน พระหัตถ์) ชื่อพระนารายณ์ ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่ออีก๕ ชื่อถือ วาสุเทว หริ กณฺห เกสว. พระนารายณ์หรือพระวิษณุ เป็นชื่อของพระเจ้า องค์เดียวกัน เป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู.
  23. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  24. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  25. ชีวสมุน : (นปุ.) ชบา, กุหลาบ, สะเอ้ง ชื่อ พรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ. ชีวตฺถํ สุมนํ ชีวสุมนํ.
  26. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  27. ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
  28. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  29. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  30. ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  31. เตช : (ปุ.) ความคม, พระอาทิตย์, เตชะ ชื่อ ไฟชื่อ ๑ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. ติชฺ นิสาเน ทิตฺติยญฺจ, โณ.
  32. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  33. ทานว : (ปุ.) ทานพ ชื่ออสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ วิ. ทานุมาย มาตุยา อปจฺจํ ทานวา. ส. ทานว.
  34. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  35. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  36. นทีกสฺสป : (ปุ.) นทีกัสสปะ นทีกัสสป ชื่อ ชฏิลคนกลางของชฏิลสามพี่น้อง ครั้งพุทธกาล.
  37. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  38. นรวาหณ นรวาหน : (ปุ.) นรวาหณะ นรวา- หนะ ชื่อของท้าวกุเวร ชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ วิ. นโร วาหณ มสฺสาติ นรวาหโณ.
  39. นาคปาส : (ปุ.) บ่วงที่เป็นงู, นาคบาส ชื่อ อาวุธของท้าววรุณ. ส. นาคปาศ.
  40. นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
  41. ปตฺตานึก : (ปุ.) คนสี่คนมีศัตราพร้อม ชื่อ ปัตตานีกะ, พลเดินเท้า, ปัตตานีกะ, ปัตตานึก. เป็น ปตฺตาณีก บ้าง.
  42. ปุโลม : (ปุ.) ปุโลมะ ชื่อของไวปจิตตาสูร ชื่อ ๑ ใน ๒ ชื่อ, ไวปจิตตาสูร.
  43. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  44. พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
  45. พฺรหฺมปุโรหิต : (ปุ.) พรหมปุโรหิต ชื่อ รูปพรหมชั้นที่ ๒ ชื่อพรหมผู้เป็นปุโรหิตของมหาพรหม.
  46. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  47. พิลงฺกภารทฺวาช : (ปุ.) พิลังกภารทวาชะ ชื่อ พราหมณ์.
  48. โพชฺฌงฺค : (ปุ.) ธรรมเป็นองค์แห่งธรรมเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นองค์แห่งญาณเครื่องตรัสรู้, โพชฌงค์ ชื่อ พระปริตรที่พระสงฆ์สวดให้คนเจ็บไข้ฟัง มีธรรมะ ๗ ข้อ.
  49. ภารทฺวาช : (ปุ.) ภารทวาชะ ชื่อ ฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
  50. มหพฺภาค : (ปุ.) ภาคใหญ่, มหัพภาค ชื่อ เครื่องหมายวรรคตอน รูปดังนี้ “.”
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1099

(0.1215 sec)