Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เณร , then ณร, เณร .

Eng-Thai Lexitron Dict : เณร, 1 found, display 1-1
  1. neophyte : (N) ; พระฝึกหัด ; Related:แม่ชีฝึกหัด, เณร ; Syn:novice

Thai-Eng Lexitron Dict : เณร, 13 found, display 1-13
  1. เณร : (N) ; recruit ; Related:private, (armed force) recruit ; Syn:ไอ้เณร, พลทหาร ; Def:เรียกพลทหารที่เข้าประจำการใหม่
  2. เณร : (N) ; Buddhist novice ; Related:novice ; Syn:สามเณร ; Samp:เณรเดินตามหลวงพ่อเพื่อขอรับบิณฑบาตจากชาวบ้าน ; Unit:รูป
  3. เณร : (N) ; novice ; Syn:สามเณร ; Def:ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล 10 ; Samp:เพราะความเป็นเด็กทำให้เณรน้อยรูปนักที่จะเรียนรู้ธรรมได้อย่างลึกซึ้ง และอยู่ในกฎระเบียบตลอด ; Unit:รูป
  4. สามเณร : (N) ; novice ; Related:neophyte ; Syn:เณร ; Ant:พระ, พระสงฆ์
  5. สามเณร : (N) ; novice ; Syn:เณร ; Def:ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล 10 ; Samp:สามเณรชูก็ตัดสินใจลาเพศบรรพชิต ด้วยความรู้สึกเป็นห่วงพี่สาวร่วมมารดาที่ต้องต่อสู้ชีวิตด้วยความลำบาก ; Unit:รูป
  6. เณรหน้าไฟ : (N) ; novice to become on one's funeral ; Def:สามเณรที่บรรพชาเนื่องในพิธีเผาศพ ; Unit:รูป
  7. เณรหน้าไฟ : (N) ; novice to become on one's funeral ; Def:สามเณรที่บรรพชาเนื่องในพิธีเผาศพ ; Unit:รูป
  8. เณรหางนาค : (N) ; novice called ; Def:สามเณรที่บวชพร้อมกับผู้บวชเป็นภิกษุ โดยบวชต่อท้ายพิธีบวชพระ ; Unit:รูป
  9. เณรหางนาค : (N) ; novice called ; Def:สามเณรที่บวชพร้อมกับผู้บวชเป็นภิกษุ โดยบวชต่อท้ายพิธีบวชพระ ; Unit:รูป
  10. การบวชเณร : (N) ; ordination ; Related:becoming a novice ; Def:การถือเพศเป็นสามเณร ; Samp:การบวชเณรมีหลายวัตถุประสงค์ อาจจะบวชเพื่อแก้บน บวชหน้าศพ บวชเพื่อศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย
  11. ตลกบาตร : (N) ; cloth sling for a Buddhist monk's begging-bowl ; Syn:ถลกบาตร ; Def:ถุงสำหรับใส่บาตรทำด้วยผ้า ; Samp:เณรหยิบตลกบาตรขึ้นมาสะพายไหล่
  12. สาธุ : (V) ; Amen! ; Syn:ดีแล้ว, ชอบแล้ว, ถูกต้องแล้ว ; Def:เป็นคำที่พระสงฆ์เปล่งวาจา เพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทำไป ; Samp:เฒ่าสมภารก็ว่าดีแล้วเณรเอ๋ย นิมิตตังุรูปังกตัญญูกตเวทีตาสาธุ
  13. หน้าไฟ : (N) ; while the funeral pyre burns ; Def:เวลาที่ไฟเผาศพกำลังลุก ; Samp:ปิดเทอมใหญ่หลังจากจบม.1 คุณย่าผมก็เสียชีวิต ผมเลยมีโอกาสได้บวชเณรหน้าไฟที่วัดรัตนวราราม

Royal Institute Thai-Thai Dict : เณร, 7 found, display 1-7
  1. เณร : น. สามเณร.
  2. เณรหน้าไฟ : น. สามเณรที่บวชเนื่องในพิธีเผาศพ.
  3. เณรหางนาค : น. สามเณรที่บวชต่อท้ายพิธีบวชพระ.
  4. โค่ง ๒ : น. คําเรียกผู้บรรพชาเป็นสามเณรมาจนอายุครบอุปสมบทเป็นภิกษุ แต่ไม่ยอมอุปสมบทว่า เณรโค่ง.
  5. จู้ ๑ : (ถิ่น-อีสาน) น. นม, ใช้ว่า นมจู้ เช่น มาฉกชักผ้าห่มชมชู นมจู้เจ้าเณรนี้ราคี. (ขุนช้างขุนแผน). (ถิ่น-พายัพ) ก. จี้, จ่อ, ไช.
  6. ทำวัตร : ก. กระทํากิจที่พึงกระทําตามหน้าที่หรือธรรมเนียมเช่น ไหว้พระสวดมนต์เช้าคํ่าของพุทธบริษัท, ทําวัตรพระ ก็ว่า; ทําสามีจิกรรมตามธรรมเนียมของพระเณร.
  7. น้อย ๑ : ว. ตรงข้ามกับ มาก, ไม่มาก, เช่น ฝนน้อย น้ำน้อย มีเงินน้อย พูดน้อย, ตรงข้ามกับ ใหญ่, ไม่ใหญ่, เช่น ข้าราชการชั้นผู้น้อย; โดยปริยายหมาย ถึงลักษณะที่ไม่สําคัญ เช่น ครูน้อยผู้น้อย เณรน้อย, เกี่ยวกับความรู้สึก เป็นไปในทางน่ารักน่าเอ็นดู เช่น เด็กน้อย น้องน้อย สาวน้อย หนูน้อย.

Budhism Thai-Thai Dict : เณร, 5 found, display 1-5
  1. สามเณรเปสกะ : ภิกษุผู้ได้รับสมมติคือแต่งตั้งจากสงฆ์ให้ทำหน้าที่เป็นผู้ใช้สามเณร (เป็นเจ้าอธิการแห่งอารามประเภทหนึ่ง))
  2. เจ้าอธิการแห่งอาราม : ภิกษุผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับงานวัด แยกเป็น ๓ คือ ผู้ใช้คนงานวัด (อารามิกเปสก) ผู้ใช้สามเณร (สามเณรเปสก) และผู้ดูแลปลูกสร้าง (นวกัมมิกะ)
  3. บวช : การเว้นทั่ว คือเว้นความชั่วทุกอย่าง (ออกมาจากคำว่า ป + วช) หมายถึงการถือเพศเป็นนักพรตทั่วไป; บวชพระ คือบวชเป็นภิกษุเรียกว่า อุปสมบท, บวชเณร คือ บวชเป็นสามเณร เรียกว่า บรรพชา
  4. ลกุณฏก ภัททิยะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรในตระกูลมั่งคั่ง ชาวพระนครสาวัตถี ได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดาที่พระเชตวันมีความเลื่อมใสจึงบวชในพระพุทธศาสนา ท่านมีรูปร่างเตี้ยค่อมจนบางคนเห็นท่านแล้วหัวเราะจนเห็นฟัน ท่านกำหนดฟันนั้นเป็นอารมณ์กรรมฐาน ได้สำเร็จอนาคามิผล ต่อมาท่านได้บรรลุพระอรหัตในสำนักพระสารีบุตร แต่เพราะความที่มีรูปร่างเล็กเตี้ยค่อม ท่านมักถูกเข้าใจผิดเป็นสามเณรบ้าง ถูกพระหนุ่มเณรน้อยล้อเลียนบ้าง ถูกเพื่อนพระดูแคลนบ้าง แต่พระพุทธเจ้ากลับตรัสยกย่องว่าถึงท่านจะร่างเล็ก แต่มีคุณธรรมฤทธานุภาพมาก ท่านได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในทางมีเสียงไพเราะ
  5. อัคคัญญสูตร : ชื่อสูตรที่ ๔ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก ทรงแสดงแก่สามเณรวาเสฏฐะ และสามเณรภารัทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงคัดค้านคำกล่าวอ้างของพวกพราหมณ์ ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด และถือว่าชาติกำเนิดเป็นเครื่องตัดสินความประเสริฐ และความต่ำทรามของมนุษย์ ทรงแสดงให้เห็นว่าความประเสริฐหรือต่ำทรามนั้นอยู่ที่ความประพฤติ โดยมีธรรมเป็นเครื่องตัดสิน คนวรรณะต่างๆ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมชื่อว่าเป็นผู้เกิดจากธรรมเสมอกันหมด แล้วทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์ เริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก เกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆ กัน วรรณะทั้ง ๔ ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์ แต่เกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ) ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้ ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้ ธรรมเป็นเครื่องตัดสิน และธรรมเป็นของประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุดในวรรณะทั้ง ๔ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุดในบรรดาเทวะ และมนุษย์ทั้งปวง

ETipitaka Pali-Thai Dict : เณร, 5 found, display 1-5
  1. เณร : อิต. หญิงเพศยา, หญิงโสเภณี
  2. ทหรสามเณร : (ปุ.) ภิกษุหนุ่มและสามเณร.
  3. นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
  4. สามเณร : (ปุ.) เหล่ากอแห่งสมณะ, สามเณร (ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐). วิ. สมณสฺส อปจฺจํ สามเณโร. เณร ปัจ. ในบทกลอนและภาษาพูดใช้ว่า “เณร” ได้.
  5. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เณร, not found

(0.1397 sec)